สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
สนับสนุน โดย บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ไข้เลือดออก.
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
กลุ่มที่ ๑ การเตรียมข้อมูล Academic Program และ Field Trip ของการประชุม 2nd Pan Asia Pacific Congress on Military Medicine วัตถุประสงค์ เพื่อให้ได้กรอบและแนวคิดของ.
VDO conference dengue 1 July 2013.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
โรคคอตีบ (Diphtheria)
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
Revitalizing National Disease Control Program
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
ไข้เลือดออก.
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2555
โรคอุจจาระร่วง.
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
DIPHTHERIA AND TETANUS VACCINE ADSORBED FOR ADULT AND ADOLESCENTS
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
ประชุม war room ควบคุมโรคเขตเมือง ครั้งที่ 2 /2555
รายงานสอบสวนโรคอุจจาระร่วง
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เรื่อง การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด เอ (เอช1 เอ็น1) โดย นายแพทย์ปราชญ์ บุณยวงศ์วิโรจน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
แนวทางการเฝ้าระวัง (Chikungunya fever) ในสถาบันการศึกษาสังกัดสถาบัน พระบรมราชชนก กระทรวง สาธารณสุข กลุ่มวิจัยและพัฒนานักระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิจัยทางด้านการแพทย์ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกองทัพบกไทยและกองทัพบกสหรัฐอเมริกา “…probably the most sophisticated diagnostic and research laboratory in all of Southeast Asia.” U.S. Institute of Medicine report on DoD-GEIS, 2001

งานค้นคว้าวิจัยหลักๆที่เริ่มต้นพัฒนาโดย AFRIMS พัฒนาวัคซีนป้องกันเยื่อหุ้มสมองอักเสบ JE กำลังศึกษาพัฒนาวัคซีนป้องกันไข้เลือดออก กำลังศึกษาพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคเอดส์ ศึกษาและสำรวจการดื้อยาของโรคอุจจาระร่วง พัฒนายารักษามาลาเรีย เช่น ยา mefloquine, tetracycline, new artemisinins และสำรวจการดื้อยาของโรคมาลาเรีย ศึกษาชีววิทยาของยุงและแมลงต่างๆ ศึกษาโรคติดต่อที่กลับมาเกิดขึ้นใหม่ (emerging Diseases)

Emerging Diseases คืออะไร Global Emerging Infectious Diseases Surveillance (GEIS) โครงการศึกษาอุบัติการณ์ของโรคติดต่อที่กลับมาเป็นปัญหา Emerging Diseases คืออะไร โรคที่เกิดขึ้นใหม่ โรคที่คาดไว้ต่ำกว่าความเป็นจริง โรคที่กลับมาเป็นปัญหาใหม่ บ่อยๆที่มาจากปัญหาการดื้อยา เช่น วัณโรค และโรคมาลาเรียฟัลซิฟารัม โครงการ GEIS กระทรวงกลาโหม ที่ AFRIMS การศึกษาเรื่องสาเหตุของไข้ที่อำเภอสังขละบุรี การดื้อยามาลาเรีย การดื้อยาของโรคอุจจาระร่วง การร่วมมือในการศึกษากับโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหมไทย การเฝ้าระวังการระบาดของโรคต่างๆ The primary mission is to protect soldiers from malaria. Such efforts encompass laboratory, preclinical, clinical and field studies of vaccines and drugs directed against malaria.

Summary of Presentations Fever Study Overview Dr. Scott Miller Specific causes of fever Dr. Mark Fukuda Clinical Presentations Nichapat U-Thaimongkol Leptospirosis Dr. Ruth Ellis Rickettsial Illnesses Dr. Scott Miller Diarrhea Study Dr. Ladaporn Bodhidatta Malaria Drug Resistance Dr. Scott Miller New Directions for Public Health Dr.Krisada Jongsakul and Dr. Mark Fukuda

การศึกษาเรื่องการเจ็บป่วยด้วยเรื่องไข้ของประชากรผู้ใหญ่ ณ อำเภอสังขละบุรี Surveillance of Febrile Illnesses of Adults in Sangkhlaburi District ระหว่างปี ๒๕๔๒-๒๕๔๖ โดยแผนกภูมิคุ้มกันและอายุรศาสตร์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหารDepartment of Immunology and Medicine AFRIMS Dr. R. Scott Miller, M.D.

ความเป็นมา AFRIMS เริ่มทำการศึกษาเรื่องรูปแบบของการระบาดและการดื้อยาของโรคมาลาเรีย ที่อำเภอสังขละบุรี ตั้งแต่ปี ๒๕๓๘ ทำการศึกษาการใช้ยา azithromycin: เพื่อป้องกันการติดเชื้อมาลาเรีย ในปี ๒๕๓๙ เพื่อใช้รักษามาลาเรียชนิดฟัสซิฟารัมร่วมกับยาควินิน ในปี ๒๕๔๓-๒๕๔๔ เริ่มทำการศึกษาร่วมกับโรงพยาบาลคริสเตียนแม่น้ำแควน้อย อะไรคือสาเหตุของไข้ในผู้ป่วยอีกประมาณ 70% ที่มารับการรักษา

วัตถุประสงค์ เพื่อหาสาเหตุที่เฉพาะเจาะจงของการเจ็บป่วยด้วยเรื่องไข้ในผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลคริสเตียนแม่น้ำแควน้อย เพื่อแยกเชื้อที่เป็นสาเหตุทั้งกลุ่ม rickettsial และ ehrlichial เพื่อดูรูปแบบการดื้อยาของเชื้อโรคอุจจาระร่วงและไข้ไทฟอยด์ เพื่อหาอุบัติการณ์ของเชื้อ arboviruses ในผู้ใหญ่ ประเมินอุบัติการณ์ของการเจ็บป่วยนี้โดยการตรวจทางน้ำเหลืองในประชากรท้องถิ่น ประเมินต้นแบบการทดสอบอย่างรวดเร็วทางห้องปฏิบัติการของกลุ่มผู้ป่วยด้วยเรื่องไข้ที่ไม่สามารถหาสาเหตุได้ เปรียบเทียบกับการตรวจด้วยวิธีมาตรฐาน การศึกษานี้ได้รับการอนุมัติให้ดำเนินการศึกษาได้คณะกรรมการพิจารณาการศึกษาวิจัยในคน กระทรวงสาธารณสุขเรียบร้อยแล้ว

วิธีดำเนินการศึกษา นัดผู้ป่วยกลับมาติดตามผลประมาณ ๓-๔ สัปดาห์ หรือแล้วแต่แพทย์ผู้ให้การรักษาอาจนัดมาก่อนก็ได้ มีการตรวจร่างกายและซักประวัติเพิ่มเติม ทำการเจาะเลือดเพิ่มเพื่อ: ตรวจจำนวนเม็ดเลือดขาว ความเข้มข้นเลือด และจำนวนเกล็ดเลือดซ้ำ อาจตรวจการทำงานของตับ และไตซ้ำ ถ้าผลก่อนหน้ามีความผิดปกติ เก็บน้ำเลือดซ้ำเพื่อตรวจเปรียบเทียบผลครั้งแรก กลุ่มอาการไข้แบ่งโดยการใช้อาการทางคลินิกประกอบกับผลทางห้องปฏิบัติการ

วิธีการศึกษาเรื่องไข้ จำแนกผู้ป่วยที่เป็นอาสาสมัครเข้าร่วมในการศึกษาที่มาด้วยอาการไข้หรือมีประวัติเป็นไข้ ดำเนินการรับเข้าเป็นอาสาสมัครด้วยความสมัครใจ เจาะเลือดเพื่อสำหรับตรวจ: หาเชื้อมาลาเรียโดยการทำสไลด์และตรวจด้วยวิธีแบบเร็ว จำนวนเม็ดเลือดขาว ความเข็มข้นของเลือด และเกล็ดเลือด การทำงานของตับ และไต เก็บน้ำเหลืองสำหรับตรวจทางภูมิคุ้มกัน ซักประวัติและตรวจร่างกาย ให้การรักษาโดยแพทย์ของทางโรงพยาบาล

การจำแนกกลุ่มอาการไข้ i). fever with hepatomegaly or splenomegaly (circle) j). fever with lymphadenopathy k). fever with arthritis (mono- or polyarticular) l). fever with rash m). fever with eschar n). fever with shock o). fever with non-specific symptoms p). isolated fever without systemic symptoms q). fever with other symptoms (specified) _______________ a). fever with upper respiratory disease b). fever with lower respiratory disease c). fever with meningitis, encephalitis, or neuropathy d). fever with gastrointestinal disease e). fever with renal disease f). fever with abnormal bleeding g). fever with liver disease h). fever with anemia, leukopenia or thrombocytopenia

การศึกษาหาอุบัติการณ์ของโรคในหมู่บ้าน ทำการศึกษาในผู้ใหญ่ที่สมัครใจเข้าร่วมในการศึกษา โดย ศึกษาในช่วงปลายฤดูแล้งและปลายฤดูฝนทุก ๖ เดือน ช่วงปี ๒๕๔๒-๒๕๔๔ (สองรอบ) เก็บตัวอย่างน้ำเหลืองและตรวจหามาลาเรีย - ได้อาสาสมัครจาก ๓ หมู่บ้าน บริเวณรอบๆโรงพยาบาลคริสเตียนแม่น้ำแควน้อย จำนวน ๔๙๗ ราย บ้านเวียคะดี ๑๘๒ ราย บ้านมองสะเทอ ๑๗๕ ราย บ้านมองสะเทอใต้ ๑๔๐ ราย - ทำการตรวจสอบหาโรคกลุ่มริตเกตเซีย เลปโตสไปโรซิส และโรคที่เกิดจากสัตว์อื่นๆ