นโยบายด้านการผลิต และพัฒนากำลังคน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
นโยบาย สพฐ. ปี
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ. ศ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
แนวทางการดำเนินงานศูนย์พัฒนาวิชาการ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
งานฝาก... ฝากงาน รังสรรค์ มณีเล็ก รองเลขาธิการ กพฐ.
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การยกระดับคุณภาพ กศน. ๑. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพ ๒. ยกระดับคุณภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
นโยบายรัฐบาล (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร)
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
ผอ.สพท. และหัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผนทั่วประเทศ
ขับเคลื่อนนโยบาย ประการ
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายด้านการผลิต และพัฒนากำลังคน โดย ปัทมา วีระวานิช สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา

แนวคิดและนโยบายการจัดอาชีวศึกษาของชาติ เพื่ออนาคตของประเทศ วิสัยทัศน์ ผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาอย่างมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม ระดับประเทศและภูมิภาค

พันธกิจ จัดและส่งเสริมการอาชีวศึกษา 5. สร้างเครือข่ายความร่วมมือ และฝึกอบรมวิชาชีพให้มี คุณภาพ มาตรฐาน ยกระดับคุณภาพและ มาตรฐานกำลังคนสายอาชีพ เข้าสู่สากล 3. ขยายโอกาสทางการศึกษา สายอาชีพอย่างทั่วถึง ต่อเนื่อง เสมอภาค และเป็นธรรม 4. เป็นแกนกลางในการจัด การอาชีวศึกษาและฝึกอบรม วิชาชีพระดับฝีมือ เทคนิคและ เทคโนโลยีของประเทศ 5. สร้างเครือข่ายความร่วมมือ ให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใน การพัฒนาการจัดการ อาชีวศึกษา และการฝึกอบรม วิชาชีพ 6. วิจัย สร้างนวัตกรรมจัดการ องค์ความรู้เพื่อการพัฒนา อาชีพและคุณภาพชีวิตของ ประชาชน 7. ส่งเสริม/พัฒนา ครูและ บุคลากรอาชีวศึกษาเพื่อความ เป็นเลิศ มั่นคง และก้าวหน้า ในวิชาชีพ

อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายฯ 1. จัดทำข้อเสนอแนวนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐาน และหลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับ 2. ดำเนินการและประสานงานเกี่ยวกับมาตรฐาน การอาชีวศึกษาและวิชาชีพ 3. กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดงบประมาณและ สนับสนุนทรัพยากร 4. พัฒนาครูและบุคลากรการอาชีวศึกษา 5. ส่งเสริมประสานงานการจัดการอาชีวศึกษาของรัฐ และเอกชน รวมทั้งกำหนดหลักเกณฑ์และรูปแบบ ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นและสถานประกอบการ

อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย (ต่อ) 6. ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการจัดการ อาชีวศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน 7. จัดระบบ ส่งเสริม และประสานงานเครือข่ายข้อมูล สารสนเทศ และการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารมาใช้ในการอาชีวศึกษาและฝึกอบรม วิชาชีพ 8. ดำเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของ คณะกรรมการการอาชีวศึกษาและดำเนินการตามที่ คณะกรรมการการอาชีวศึกษามอบหมาย 9. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็น อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาหรือ ตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

การเชื่อมโยงนโยบายสู่การปฏิบัติ นโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวง ขับเคลื่อนนโยบาย นโยบายรัฐบาล ที่แถลงต่อสภา (แผนบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี) และ ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) สอศ. ขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลและนโยบาย ศธ. ใน 4 มิติ นโยบาย ศธ. 8 ด้าน

ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) 1) พัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ลดความเหลื่อมล้ำ (Inclusive Growth) ปฏิรูปการศึกษา พัฒนาภาคการศึกษารองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2) สร้างโอกาสทางการศึกษา 3) ปฏิรูประบบการผลิตครูให้มี คุณภาพทัดเทียมนานาชาติ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 1) เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ 2) ปฏิรูประบบผลิตและพัฒนาครู 3) เร่งนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ ในการปฏิรูปการเรียนรู้ 4) พัฒนาคุณภาพการอาชีวศึกษาให้มีมาตรฐาน เทียบได้กับระดับสากล 5) ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาเร่งพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐาน มากกว่าการขยายเชิงปริมาณ 6) ส่งเสริมให้เอกชนและทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมจัดและ สนับสนุนการศึกษามากขึ้น 7) เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ 8) ให้ความสำคัญกับการพัฒนาการศึกษาในจังหวัด ชายแดนใต้   4) จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา อาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ ให้สอดคล้องกับปริมาณและ คุณภาพ 5) พัฒนาการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศให้ทัดเทียมนานาชาติ 6) สนับสนุนการพัฒนาเพื่อสร้าง ทุนปัญญาชาติ 7) เพิ่มขีดความสามารถของ ทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการ เปิดเสรีประชาคมอาเซียน เพิ่มปริมาณผู้เรียน สายอาชีพ 2) ยกระดับ คุณภาพผู้เรียน 3) เพิ่มประสิทธิภาพ บริหารจัดการ 4) ส่งเสริมความร่วมมือ ทุกภาคส่วน

นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 1.เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ เรียนรู้ด้วยตนเอง อย่างต่อเนื่อง โดยจะเริ่มจากวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ 2. ปฏิรูประบบผลิตและพัฒนาครู จำนวนการผลิต สอดคล้องกับความต้องการ มีความรู้ ความสามารถ ในการจัดการเรียนการสอนในโลกยุคใหม่ พัฒนา ระบบประเมินวิทยฐานะครูให้เชื่อมโยงกับผลสัมฤทธิ์ ของผู้เรียน ดูแลระบบสวัสดิการครูเพื่อขวัญและ กำลังใจ

นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 3. เร่งนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ในการ ปฏิรูปการเรียนรู้ สร้างมาตรฐานการเรียนการสอน และ การพัฒนาครู การพัฒนาเนื้อหาสาระ เพื่อเป็นเครื่องมือ ให้เกิดระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต 4. พัฒนาคุณภาพการอาชีวศึกษาให้มีมาตรฐานเทียบได้กับ ระดับสากล ผลักดันกรอบคุณวุฒิวิชาชีพ ตามกรอบ คุณวุฒิแห่งชาติ มาใช้กำหนดทักษะความรู้ความสามารถ ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ เพื่อการมีงานทำ มีความก้าวหน้าและมีค่าตอบแทนตามทักษะ ความรู้ ความสามารถ มีมาตรการจูงใจให้เอกชนเข้ามามีส่วน ร่วมในการพัฒนาสถานศึกษาในลักษณะทวิภาคี เพื่อเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษามากขึ้น

นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 5. ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาเร่งพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐาน มากกว่าการขยายเชิงปริมาณ วิจัยและ พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี จัดอันดับ สถาบันอุดมศึกษาเพื่อเป็นเครื่องมือพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐาน และการจัดสรรทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพ พัฒนาสู่การเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก 6. ส่งเสริมให้เอกชนและทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมจัดและ สนับสนุนการศึกษามากขึ้น โดยรัฐกำกับควบคุม เท่าที่จำเป็น เพื่อรักษาคุณภาพมาตรฐาน

นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 7. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ให้ประชาชนทุกกลุ่มอายุ โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาส และพิการ ให้กองทุน ICL เป็นกลไกพัฒนาคุณภาพ เพิ่มโอกาสและผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับการพัฒนา ประเทศ 8. ให้ความสำคัญกับการพัฒนาการศึกษาในจังหวัด ชายแดนใต้ ให้สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม อัตลักษณ์ ตามความต้องการของประชาชน ในพื้นที่ โดยให้ความสำคัญกับความปลอดภัย การสร้างขวัญกำลังใจให้กับนักเรียน ครู และบุคลากร ทางการศึกษา

มิติการขับเคลื่อนนโยบายของ สอศ. มิติ 1 มิติ 2 มิติ 3 มิติ 4 ส่งเสริมความร่วมมือทุกภาคส่วน เพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการ ยกระดับคุณภาพผู้เรียน เพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพ เป้าหมาย คุณภาพและปริมาณกำลังคนสอดคล้องความต้องการทั้งในประเทศและรองรับการเปลี่ยนแปลง

มิติ 1 เพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพ เป้าหมาย รักษาเป้า ปวช. เพิ่มปริมาณ ปวส. ปรับลดระยะสั้น? ลดออกกลางคัน

มิติ 1 เพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพ (ต่อ) มาตรการ ● เฝ้าดูตัวเลขภาพรวม/รายสาขา - การสมัครโควตา ● ทำงานเชิงรุกถึง - นักเรียน - ผู้ปกครอง ● อาจต้องเกลี่ยครู หากสัดส่วน ไม่เหมาะสมมาก

มิติ 1 เพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพ (ต่อ) ● ครอบคลุมทุกพื้นที่ ● สาขาอาชีพ ● ขยายกลุ่มเป้าหมาย ● อาชีวะทางเลือก

มิติ 1 เพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพ (ต่อ) AREA จัดตั้งสถาบันการ อาชีวศึกษา 4 ภูมิภาคเกษตร 19 สถาบันกลุ่มจังหวัด เสริมอาชีวะชายแดนใต้ สู่สันติสุข ศูนย์อบรมอาชีวะ อาชีวะสองระบบ หลักสูตรท้องถิ่น ทุน ขยายอาชีวะอำเภอ อำเภอชั้นหนึ่ง

มิติ 1 เพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพ (ต่อ) AGENDA : อาชีวะเฉพาะทาง สาขาอาชีพ ● ปิโตรเคมี ● ครัวไทยสู่ครัวโลก ● Logistic/ รถไฟความเร็วสูง ● อัญมณี ● ไฟฟ้า ● ท่องเที่ยว/โรงแรม ● สร้างเกษตรรุ่นใหม่ ● พลังงานทดแทน ● ยานยนต์ ● อิเล็กทรอนิกส์

มิติ 1 เพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพ (ต่อ) ขยายกลุ่มเป้าหมาย อาชีวะในโรงเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวะเพื่อคนพิการ - ผู้เรียน ปวช.1,496 คน /ปวส.790 คน รวม 2,286 คน - วิทยาลัยเปิดสอนคนพิการ 252 แห่ง ใน 62 จังหวัด - ปี 56 เปิดครบทุกจังหวัด อาชีวะวัยแรงงาน - สอศ.จัดบริการได้ 300,000 คน จาก 43.1 ล้านคน (ประมาณ1%) อาชีวะเพื่อสตรี อาชีวะสูงวัย

มิติ 1 เพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพ (ต่อ) ขยายกลุ่มเป้าหมาย ● อบรมระยะสั้น /ตลาดนัดอาชีพ ● ศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน ● เทียบโอนความรู้ ประสบการณ์ ● Upgrade skills ● Reskills

มิติ 1 เพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพ (ต่อ) ขยายกลุ่มเป้าหมาย ร่วมจัดอาชีวศึกษา - ในเรือนจำ - ค่ายทหาร - อปท. สนับสนุนให้หน่วยงาน/องค์กร ร่วมจัดอาชีวศึกษา - สถานประกอบการ อปท. เอกชน

มิติ 1 เพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพ (ต่อ) อาชีวะทางเลือก อาชีวะทายาท ทุกภูมิภาค ทุกสถาบันอาชีวศึกษา วิทยาลัยฐานวิทยาศาสตร์ อาชีวะอินเตอร์ อาชีวะทางไกล R-radio network

มิติ 1 เพิ่มปริมาณผู้เรียนสายอาชีพ (ต่อ) ลดการออกกลางคันลง 5 % ● ป้องกัน /ดูแลรายบุคคล ● R&D ● 50 วิทยาลัยที่ออกกลางคันสูง ● แก้ปัญหารายวิทยาลัย / รายสาขาวิชา ● วิเคราะห์แก้ปัญหาเชิงระบบ

มิติ 2 ยกระดับคุณภาพ ● สถานศึกษา - สร้างความเข้มแข็งให้สถานศึกษา ผ่านการประเมินของ สมศ. ● ผู้เรียน - V-NET - การประเมินด้านมาตรฐานวิชาชีพ - ผลการประเมินระดับห้องเรียน

มิติ 2 ยกระดับคุณภาพ (ต่อ) ปรับปรุงหลักสูตร พัฒนาการจัดการเรียนรู้ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม วิถีประชาธิปไตย พัฒนาระบบนิเทศ ประกันคุณภาพ ยกระดับคุณภาพสถานศึกษาขนาดเล็ก เตรียมผู้เรียนสู่ ASEAN ใช้ ICT เพื่อการเรียนการสอน พัฒนานวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์

มิติ 2 ยกระดับคุณภาพ (ต่อ) ปรับปรุงหลักสูตร ● พัฒนาทักษะการคิด ● Competency Based ● Technology Based ● Green Technology ● Creative economy

มิติ 2 ยกระดับคุณภาพ (ต่อ) การนำหลักสูตรไปใช้คือหัวใจ ● ระดับสถานศึกษา - ปรับปรุงพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา - บริหารหลักสูตร ● ระดับห้องเรียน - สื่อ /หนังสือ - อุปกรณ์ - การเรียนการสอน - การประเมิน

มิติ 2 ยกระดับคุณภาพ (ต่อ) พัฒนาการจัดการเรียนรู้ ● Constructionism ● Project Based Learning * ● Authentic Assessment * ● เรียนในสถานที่จริง/สถานการณ์จริง - Fix it - กรณีภัยพิบัติ

มิติ 2 ยกระดับคุณภาพ (ต่อ) ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม วิถีประชาธิปไตย ● อกท. /อกช. /กีฬา ● สุภาพบุรุษอาชีวะ ● ลูกเสือ ● ป้องกัน/แก้ไขการทะเลาะวิวาท ● เสริมสร้างทักษะชีวิต

มิติ 2 ยกระดับคุณภาพ (ต่อ) พัฒนาระบบนิเทศ ● KM ครูรุ่นพี่ /รุ่นใหม่ (นิเทศภายใน) ● นิเทศทางไกล

มิติ 2 ยกระดับคุณภาพ (ต่อ) ประกันคุณภาพ ● สร้างความเข้มแข็ง ประกันคุณภาพภายใน ● สนับสนุนให้ทุกวิทยาลัย ผ่านการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับดีมาก ● เตรียมพร้อมรับการประเมิน ระดับสากล

มิติ 2 ยกระดับคุณภาพ (ต่อ) สถานศึกษาขนาดเล็ก ●ให้เป็นตามวัตถุประสงค์การจัดตั้ง ● ตามความต้องการของพื้นที่ ● สนองนโยบายและยุทธศาสตร์ ● กลุ่มเป้าหมายพิเศษ (คนพิการ,วัยทำงาน, สูงวัย, สตรี)

มิติ 2 ยกระดับคุณภาพ (ต่อ) เตรียมผู้เรียนสู่ ASEAN ● เพิ่มจำนวนสถานศึกษา EP/ MEP ทุกจังหวัด ● ใช้หลักสูตร / สื่อต่างประเทศ ● ฝึกงานต่างประเทศ/บริษัทต่างประเทศในไทย ● ยกระดับทักษะด้านภาษาอังกฤษในงานอาชีพ ● ส่งเสริมภาษาประเทศคู่ค้า ● sister school ทุกประเทศใน ASEAN ● SEMOLEC

มิติ 2 ยกระดับคุณภาพ (ต่อ) ใช้ ICT เพื่อการเรียนการสอน ● Hardware ● สื่อการเรียนการสอน - ประกวดสื่อ และสื่อออนไลน์ ● พัฒนาครู สร้างเครือข่ายครูวิชาชีพและเครือข่าย Social Media ● Network ● จัดตั้งวิทยาลัยต้นแบบการใช้ ICT เพื่อการเรียนการสอน

มิติ 2 ยกระดับคุณภาพ (ต่อ) พัฒนานวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ ● ส่งเสริมผู้เรียนพัฒนาและ เผยแพร่นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ● สนับสนุนให้ครูทำวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพ

มิติ 3 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ บริหารบุคคล บริหารทั่วไป งบประมาณ มิติ 3 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 3 1 2

มิติ 3 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (ต่อ) ด้านบริหารทั่วไป web Portal E-office Data based ภาพลักษณ์เชิงบวก

มิติ 3 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (ต่อ) ด้านงบประมาณ ● Strategic Performance Based Budgeting : SPBB ● Formula funding (พื้นฐาน+เสมอภาค+นโยบาย) A+B+C ● กระจายอำนาจจัดซื้อจัดจ้าง ● งบประมาณค่าสาธารณูปโภค /ค่าจ้างครู

มิติ 3 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (ต่อ) ด้านบริหารงานบุคคล ● เครือข่ายครู/สมาคมวิชาชีพ ● ลูกจ้าง พนักงานราชการ ● พัฒนาระบบบริหารงานบุคคล ของสถาบันการอาชีวศึกษา

มิติ 4 สร้างความร่วมมือทุกภาคส่วน ทุนสำหรับนักศึกษา กำปงเฌอเตียล กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ ร่วมมือองค์การ/สมาคมวิชาชีพ สภาอุตสาหกรรม สภาหอการค้า กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม ฯลฯ

มิติ 4 สร้างความร่วมมือทุกภาคส่วน (ต่อ) 1 2 ร่วมมือองค์การระหว่างประเทศ ● VOCTECH ● CPSC /APACC ● SEARCA ● UNIVOC ร่วมมือในประเทศ (ทวิภาคี + ฝึกงาน)

มิติ 4 สร้างความร่วมมือทุกภาคส่วน(ต่อ) ความร่วมมือกับต่างประเทศ 3 ● สิงค์โปร์ ITE ● สาธารณรัฐประชาชนจีน ● อิสลาเอล ARAVA ● ญี่ปุ่น ● เดนมาร์ก ● กัมพูชา ● มาเลเซีย ● ลาว ● อินโดนีเซีย ● เมียนมาร์

 ฐานวิทย์  EP  Mini EP  Inter (มาตรฐานสากล)  ทวิภาคี  อาชีวะเฉพาะทาง  อาชีวะอำเภอ เทียบโอน ประสบการณ์  ทางไกล  อาชีวะคนพิการ บ่มเพาะ ผู้ประกอบการ  ตลาดนัดอาชีพ โครงการ พระราชดำริ  เกษตรกรรุ่นใหม่  อศ.กช. เป้าหมายพิเศษ

5 อุตสาหกรรมอนาคต 5 บริการ 7 เกษตร เป้าหมายการผลิตกำลังคนเพื่อสนับสนุนภาคการผลิตและบริการของไทย มีศักยภาพตามยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) 7 เกษตร 6 อุตสาหกรรมเดิมที่เป็นฐานรายได้ประเทศ 5 อุตสาหกรรมอนาคต 5 บริการ 1. ข้าว 2. ยางพารา 3. ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ 4. ผลไม้ 5. พืชพลังงาน 6. ประมง 7. ปศุสัตว์ 1. อุตสาหกรรม พลังงานสะอาด 2. ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3. อุตสาหกรรม อากาศยาน 4. อุตสาหกรรม สร้างสรรค์ 5. Biochemical Product/ Bio Plastic/ Bio Materials 1. ท่องเที่ยว 2. ค้าปลีกค้าส่ง 3. ก่อสร้าง 4. สื่อสารและ โทรคมนาคม 5. บริการ สุขภาพ 1. ผลิตภัณฑ์ยาง 2. อาหาร 3. ปิโตรเคมี/พลาสติก 4. Biodiesel/Ethanol 5. ยานยนต์ 6. เครื่องใช้ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ ++อาชีพต่อเนื่องจากการลงทุนขนส่งระบบรางและจัดการน้ำ

ปัญหา อุปสรรค ข้อจำกัด 1 2 3 4 ค่านิยมในการเรียนสายสามัญมากกว่าอาชีวะ ภาพลักษณ์ในทางลบของนักศึกษาอาชีวะ ผลิตไม่พอกับความต้องการ อัตราการ Drop Out สูง

Vocational Manpower Center Roadmap บทบาทปัจจุบัน ฐานข้อมูลนักศึกษา ฐานข้อมูลสถานประกอบการ Job Matching เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ข่าวสารการจ้างงาน ความต้องการกำลังคน นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านกำลังคน ข้อมูลพื้นฐานจังหวัด กลุ่มจังหวัด ศูนย์วัดความถนัดด้านอาชีพ ข้อมูลอาชีพและ ความก้าวหน้า (Career Path) ข้อมูลพื้นฐาน สอศ. สถานศึกษา หลักสูตร Vocational Manpower Center Roadmap มาตรฐานสมรรถนะ AEC และนานาชาติ เตรียมพร้อมผู้สำเร็จอาชีวะเข้าทำงาน