เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Advertisements

การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การเขียนผังงาน.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
ADDIE model หลักการออกแบบของ
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การวางแผนและการดำเนินงาน
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การเขียนรายงานการวิจัย
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
Flow Chart INT1103 Computer Programming
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา.
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง กระบวนการสืบเสาะแสวงหาความรู้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flow chart).
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน สาระวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 (งช 401) จัดทำโดย นายสถิตย์ จันทร์น้อย อาจารย์2 ระดับ 7 โรงเรียนท้ายหาด

หลักการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. หลักการแก้ปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คือ - เก็บข้อมูลเบื้องต้น โดยการศึกษา สังเกต - ตั้งสมมุติฐาน - พัฒนาวิธีการทดสอบสมมติฐาน - ทำการทดลองเพื่อพิสูจน์สมมติฐาน - วิเคราะห์ผลการทดลอง - เขียนรางงานสรุปการทดลอง

2. หลักการแก้ปัญหาตามวิธีการวิศวกรรม มีขั้นตอนดังนี้ - วิเคราะห์ปัญหา เพื่อกำหนดรายละเอียด - สร้างแบบจำลองวิธีการแก้ปัญหา - คำนวณหาคำตอบ - นำผลลัพธ์ที่สมเหตุสมผล ไปใช้งาน 3.วิธีการแก้ปัญหาแบบสร้างสรรค์ - การสังเกตอย่างพินิจวิเคราะห์ - ค้นหาความจริง โดยการรวบรวมข้อมูล - ค้นหาปัญหาแท้จริงคืออะไร - ค้นหาแนวคิด ในการแก้ปัญหา - ค้นหาวิธีแก้ปัญหา ค้นหาวิธีทำที่ทำให้ตนเองและผู้อื่นยอมรับในการใช้วิธีนั้น ๆ

4. การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. วิเคราะห์งาน 2. การเขียนแผนผัง 3. การเขียนคำสั่งซูโดโค้ด 4. การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 5. การทดสอบโปรแกรม 6. การนำไปใช้ 7. การบำรุงรักษา 8. การติดตาม ประเมินผลเพื่อปรับปรุงแก้ไข

6.2 การวิเคราะห์งาน ประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอนดังนี้ 1. วิเคราะห์งานในส่วนที่เป็น สิ่งที่ต้องการ 2. วิเคราะห์งานในส่วนที่เป็น ผลลัพธ์ 3. วิเคราะห์งานในส่วนที่เป็น ข้อมูลนำเข้า 4. วิเคราะห์งานในส่วนที่เป็น ตัวแปร 5. วิเคราะห์งานในส่วนที่เป็น วิธีการประมวลผล

การเขียนแผนผัง ผังงาน (Floechart) คือ แผนภาพซึ่งแสดงลำดับขั้นตอนของการทำงาน โดยใช้สัญลักษณ์ที่มีความหมายบ่งบอกว่าขั้นตอนนั้น ๆ มีการทำงานแบบใด ถูกเชื่อมโยงโดยลูกศร เพื่อแสดงลำดับขั้นตอนให้เข้าใจง่าย ประโยชน์ของผังงาน 1. ช่วยสามารถทำความเข้าใจลำดับขั้นตอนการทำงานของ โปรแกรมได้รวดเร็ว 2. ช่วยแสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน ทำให้เขียนโปรแกรม อย่างเป็นระบบ

2. ผังงานโปรแกรม เป็นผังงานที่แสดง ลำดับขั้นการทำงานของโปรแกรมหนึ่ง ๆ ประเภทของผังงาน 1.ผังงานระบบ เป็นผังงานที่แสดงขอบเขต และลำดับขั้นตอนการทำงานของระบบหนึ่ง ๆ 2. ผังงานโปรแกรม เป็นผังงานที่แสดง ลำดับขั้นการทำงานของโปรแกรมหนึ่ง ๆ ฐานข้อมูล พนักงาน ตัวอย่าง ผังงานระบบ คำนวณเงินเดือน พิมพ์เช็ค

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน การเขียนผังงาน เป็นการเขียนแผนภาพเพื่อแสดงขั้นตอนการทำงาน โดยนำภาพสัญลักษณ์ต่าง ๆ มาเรียงต่อกัน เทอร์มินัล แสดงจุดเริ่มต้นการทำงานและจบการทำงาน รับเข้าหรือแสดงผล นำข้อมูลเข้าด้วยมือ การใช้แป้นพิมพ์ หรือ เม้าส์ บัตรเจาะรู แสดงการรับข้อมูลเข้า

เทปกระดาษเจาะรู แสดงการรับข้อมูลเข้า เทปแม่เหล็ก แสดงการรับข้อมมูลเข้า จานแม่เหล็ก แสดงการรับข้อมูลเข้า ดรัมแม่เหล็ก แสดงการรับข้อมูลเข้า แกนแม่เหล็ก แสดงการับข้อมูลเข้า การประมวลผล แสดงการประมวลผล

เอกสาร แสดงผลลัพธ์บนกระดาษ การแสดงผล แสดงผลลัพธ์ในขณะ ที่ยังประมวลผลอยู่ การตัดสินใจ แสดงการตัดสินใจ หรือเปรียบเทียบ การเตรียม แสดงการกำหนดค่าต่าง ๆ ล่วงหน้าในการทำงาน จุดต่อภายในหน้า แสดงจุดต่อเนื่อง ของแผนผังที่อยู่ในหน้าเดียวกัน

การอธิบาย การรวม แสดงการนำข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุด ขึ้นไป มารวม เป็นชุดเดียวกัน การแยก แสดงการแยกข้อมูล 1 ชุด ออกเป็นข้อมูลหลาย ๆ ชุด การรวมและการแยก การเรียง แสดงการเรียงลำดับข้อมูล

หลักเกณฑ์ในการเขียนผังงาน 1. สัญลักษณ์ที่ใช้มีขนาดต่างกันได้ แต่ต้องมีรูป ร่างสัดส่วนตามมาตรฐาน 2. ทิศทางของลูกศรในผังงาน ควรมีทิศทางจาก บนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวาเสมอ 3. ผังงานควรมีความเรียบร้อย สะอาด การเขียนข้อความใด ๆ ควรทำให้สั้นกะทัดรัด ได้ใจความ

ลักษณะโครงสร้างของผังงาน มี 3 รูปแบบ 1. โครงสร้างแบบเป็นลำดับ (Sequence Structure)

2. โครงสร้างแบบมีการเลือก (Selection Structure)

3. โครงสร้างแบบทำซ้ำ (Iteration Structure)

การเขียนคำสั่งซูโดโค้ด เป็นการเขียนคำสั่งด้วยภาษาพูด โดยแปลความจากผังงานที่เราสร้างขึ้น การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ถือเป็นขั้นตอนสุดท้ายจำเป็นต้องใช้บุคลากรที่มีความชำนาญ หรือเรียกว่า โปรแกรมเมอร์ นั่นเอง ส่วนภาษาที่ใช้เขียนนั้นมี 3 ประเภท คือ ภาษาเครื่อง ภาษาระดับต่ำ และภาษาระดับสูง