ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
เสียง ข้อสอบ o-Net.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
Knowledge Sharing Basic Of Bearing
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
Electromagnetic Wave (EMW)
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
แผ่นดินไหว.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
Ultrasonic sensor.
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ระบบอนุภาค.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
คลื่นผิวน้ำ.
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
ซ่อมเสียง.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
ดาวศุกร์ (Venus).
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อสอบ o-Net คลื่นกล

คลื่นกล 1. (O-NET’49)เมื่อคลื่นเดินทางจากน้ำลึกสู่น้ำตื้น ข้อใดต่อไปนี้ถูก           1. อัตราเร็วคลื่นในน้ำลึกน้อยกว่าอัตราเร็วคลื่นในน้ำตื้น       2. ความยาวคลื่นในน้ำลึกมากกว่าความยาวคลื่นในน้ำตื้น       3. ความถี่คลื่นในน้ำลึกมากกว่าความถี่คลื่นในน้ำตื้น       4. ความถี่คลื่นในน้ำลึกน้อยกว่าความถี่คลื่นในน้ำตื้น

คลื่นกล คลื่นแสง คลื่นเสียง คลื่นผิวน้ำ 2. (O-NET’49)คลื่นใดต่อไปนี้ เป็นคลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ คลื่นแสง คลื่นเสียง คลื่นผิวน้ำ คำตอบที่ถูกต้องคือ           1. ทั้ง 1 , 2 และ 3       2. ข้อ 2 และ 3       3. ข้อ 1 เท่านั้น       4. ผิดทุกข้อ

คลื่นกล 3. (O-NET’49)คลื่นขบวนหนึ่งมีความถี่ 10 เฮิรตซ์ มวลของเชือกที่จุดใด ๆ จะสั่นได้กี่รอบในเวลา 1 นาที (แบบเติมคำตอบ) ตอบ.........................................................................................

คลื่นกล 4. (O-NET'50)มนุษย์อวกาศสองคนปฏิบัติภารกิจบนพื้นผิวดวงจันทร์ สื่อสารกันด้วยวิธีใดสะดวกที่สุด           1. คลื่นเสียงธรรมดา        2. คลื่นเสียงอัลตราซาวด์       3. คลื่นวิทยุ       4. คลื่นโซนาร์

คลื่นกล 5. (O-NET'50)เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากตัวกลางที่หนี่งไปตัวกลางที่สองโดยอัตราเร็วของคลื่นลดลง ถามว่าสำหรับคลื่นในตัวกลางที่สอง ข้อใดถูกต้อง           1. ความถี่เพิ่มขึ้น       2. ความถี่ลดลง       3. ความยาวคลื่นเพิ่มขึ้น       4. ความยาวคลื่นน้อยลง

คลื่นกล 6. (O-NET'50)ถ้ากระทุ่มน้ำเป็นจังหวะสม่ำเสมอ ลูกปิงปองที่ลอยอยู่ห่างออกไปจะเคลื่อนที่อย่างไร           1. ลูกปิงปองเคลื่อนออกห่างไปมากขึ้น       2. ลูกปิงปองเคลื่อนที่เข้ามาหา       3. ลูกปิงปองเคลื่อนที่ขึ้น-ลงอยู่ที่ตำแหน่งเดิม       4. ลูกปิงปองเคลื่อนี่ไปด้านข้าง

คลื่นกล 7. (O-NET51) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นตามยาว 1. เป็นคลื่นที่ของตัวกลางมีการสั่นในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น 2. เป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ไปตามแนวยาวของตัวกลาง 3. เป็นคลื่นที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ 4. เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางมีการสั่นได้หลายแนว

คลื่นกล (O-NET52) 8.

คลื่นกล (O-NET52) 9. ในการทดลองเพื่อสังเกตผลของสิ่งกีดขวางเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่าน เป็นการศึกษาสมบัติตามข้อใดของคลื่น 1. การหักเห 2. การเลี้ยวเบน 3. การสะท้อน 4. การแทรกสอด

คลื่นกล (O-NET52)

คลื่นกล (O-NET53)

คลื่นกล (O-NET53)

สวัสดี