โครงสร้างและคุณสมบัติพื้นฐาน ของสายอากาศแบบต่างๆ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
Advertisements

การติดต่อสื่อสาร.
ENVIRONMENTAL SCIENCE
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ยินดีต้อนรับสู่ Visual Art Online
ปรากฏการณ์โพลาไรเซชั่น ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Electromagnetic Wave (EMW)
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Ultrasonic sensor.
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ไมโครโฟน (Microphone)
ลำโพง (Loud Speaker).
(Global Positioning System)
Electric force and Electric field
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ RFID
Telecommunication Systems: Basic Knowledge formanagement
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การดูแลรักษาเครื่องวิทยุคมนาคม
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ความหมายและชนิดของคลื่น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
วงจรผสมคลื่นความถี่วิทยุแบบ FM
ระบบโทรคมนาคม.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
Smart Card นำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น บัตรเครดิต, บัตรแทนเงินสด,บัตรแทนสมุดเงินฝาก,บัตรประชาชน,บัตรสุขภาพ,บัตรสุขภาพ,เวชทะเบียนหรือบันทึกการตรวจรักษา.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
หน่วยที่ 9 Am Modulation.
หน่วยที่ 5 เครื่องส่งวิทยุ.
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ซ่อมเสียง.
ระบบ โทรคมนาคม บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ระบบโทรคมนาคม.
กล้องโทรทรรศน์.
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
การตรวจอากาศด้วยเรดาร์
การหักเหของแสง (Refraction)
นางสาว ชูขวัญ ไพรจิตร เลขที่ 28 นางสาว กัญญาภัค แก้วนวน เลขที่ 30
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
คณะผู้จัดทำ 1. ด. ญ. สุกันยา มะลิวัลย์ 2. ด. ญ. พชรมน กองอรรถ 3. ด. ญ. สุรัสวดี ภู่รักษ์ เสนอ อาจารย์ พรทิพย์ ตองติดรัมย์ เครือข่ายระบบไร้สาย wirless LAN.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
วิทยุโทรทัศน์ในประเทศไทย ช่วงปี History in of Television in Thailand.
16. การเขียนรายงานการวิจัย
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างและคุณสมบัติพื้นฐาน ของสายอากาศแบบต่างๆ หน่วยที่ 10 โครงสร้างและคุณสมบัติพื้นฐาน ของสายอากาศแบบต่างๆ Radio Transmitter and Antenna

1. หลักการทำงานของสายอากาศ 2. นิยามศัพท์เกี่ยวกับสายอากาศ สาระการเรียนรู้ 1. หลักการทำงานของสายอากาศ 2. นิยามศัพท์เกี่ยวกับสายอากาศ 3. ชนิดของสายอากาศ 4. ตัวอย่างสายอากาศที่ใช้ส่งกระจายเสียงเอฟเอ็มแบบต่าง ๆ เพื่อเป็นกรณีศึกษา

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. นิยามศัพท์เกี่ยวกับสายอากาศได้ 2. จำแนกสายอากาศแบบต่าง ๆ ได้ 3. คำนวณหาค่าความยาวของไดโพลได้ 4. บอกคุณสมบัติของสายอากาศที่ใช้ส่งกระจายเสียงเอฟเอ็มแบบต่าง ๆ ได้

สายอากาศ คือ อะไร

สายอากาศของเครื่องส่ง ทำหน้าที่ แพร่กระจายคลื่นจากเครื่องส่งวิทยุผ่านอากาศหรือชั้นบรรยากาศไปยังเครื่องรับ สายอากาศของเครื่องรับวิทยุ จะทำหน้าที่ รับคลื่นวิทยุจากอากาศเข้าสู่เครื่องรับ เพื่อทำการดีมอดูเลตสัญญาณต่อไป สายอากาศของเครื่องรับส่งวิทยุ จะทำหน้าที่รับคลื่นวิทยุจากอากาศเข้าสู่เครื่องรับ และส่งคลื่นวิทยุไปยังสายอากาศไปยังเครื่องรับ

หลักการทำงานของสายอากาศ การแพร่กระจายคลื่น ออกจากแหล่งกำเนิด หรือซอร์ส ( Source) ซึ่งจะประกอบด้วย สองส่วน คือ สนามไฟฟ้า ( E ) และ สนามแม่เหล็ก ( H )

ศัพท์ เกี่ยวกับสายอากาศ

แพทเทอร์นการแพร่กระจายคลื่น ( Radiation Pattern ) คือ รูปภาพที่ใช้เพื่อแสดงคุณสมบัติของการแพร่กระจายคลื่นของสายอากาศ

ตัวแพร่คลื่นไอโซโทรปิค ( Isotropic Radiation ) คือ สายอากาศที่ถูกสมมติขึ้น โดยมีคุณสมบัติของการแพร่กระจายคลื่นเท่า ๆ กันในทุกทิศทาง เช่น พอยต์ซอร์ส ( Point Source ) ซึ่งเป็นสายอากาศแบบหนึ่งที่ไม่สามารถสร้างได้จริง แต่มักใช้อ้างอิงเกี่ยวกับการแสดงคุณสมบัติ แสดงทิศทางของสายอากาศ

โหลบของการแพร่กระจายคลื่น ( Radiation Lobe ) คือ ส่วนหนึ่งของแพทเทอร์นการแพร่กระจายคลื่นที่เกิดขึ้นเป็นบริเวณ

โหลบหลัก ( Main Lobe ) เป็นโหลบของการแพร่กระจายคลื่นซึ่งอยู่ในทิศทางที่มีการแพร่กระจายคลื่นแรงที่สุด โหลบย่อย ( Minor Lobe ) เป็นโหลบอื่น ๆที่นอกเหนือไปจากโหลบหลัก โหลบข้างหรือไซด์โหลบ ( Side Lobe ) เป็นโหลบย่อยที่ติดอยู่กับโหลบหลักและจะอยู่ในทิศทางบนครึ่งวงกลมซีกเดียวกับโหลบหลัก

ชนิดของสายอากาศ ( Antenna Types ) 1. แบ่งตามทิศทางการแพร่กระจายคลื่น จะได้ 1.1 สายอากาศแบบรอบทิศทาง ได้แก่ สายอากาศในแนวดิ่ง 1/2 , 1/4 , 5/8 1.2 สายอากาศแบบชี้ทิศทาง ได้แก่ สายอากาศแบบยากิ,แบบคิวบิค,แบบไฮบริด 2. แบ่งตามการโพลาไรซ์หรือการจัดขั้วคลื่น จะได้ 2.1 สายอากาศที่มีการโพลาไรซ์ในแนวตั้ง ( Vertical Polarization ) 2.2 สายอากาศที่มีการโพลาไรซ์ในแนวนอน ( Horizontal Polarization )

สายอากาศแบบรอบทิศทาง ( Omnidirectional Antennas )

สายอากาศแบบครึ่งคลื่น ( 1/2 Wavelength Vertical )

สายอากาศแบบ ( 1/4 Wavelength Vertical )

สายอากาศแบบยากิ ( Yagi )

ตัวอย่างสายอากาศที่ใช้ส่งกระจายเสียงเอฟเอ็ม สายอากาศเอฟเอ็มแบบไดโพล

แบบเซอร์คูลาร์ ( Circular Polarized antenna )

FMV Rigid Line Antenna model

ครูและนักเรียนช่วยกันสรุป

สวัสดี