การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ RN., B.Ed., MS.(Nursing), MA.(Public Ad) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ 1. ระบุความแตกต่างของโรคมะเร็งที่พบบ่อยในเด็กแต่ละชนิดได้ 2. อธิบายลักษณะความผิดปกติที่สำคัญ การวินิจฉัย การรักษาโรคมะเร็งในเด็กได้ 3. ให้การพยาบาลโรคมะเร็งที่พบบ่อยในเด็กแต่ละชนิดได้ 4. วางแผนการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลในโจทย์สถานการณ์แบบองค์รวมได้ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Top 5 Pediatric Cancers Brandee Aquilino, 2012 1. Acute Lymphoblastic Leukemia 2.Brain Tumors 3.Neuroblastoma 4. Wilms Tumor 5.Lymphoma ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ เด็กชายอายุ 5 ปี มารดาพามาพบแพทย์ด้วยอาการ มีไข้ ปวดขาเวลาเดิน มีผื่นแดงขึ้นตามผิวหนังหลังจากได้รับยาปฏิชีวนะรักษาหูข้างซ้ายที่ติดเชื้อ PE: T 37.8 C, P 96 /min, R 26 /min, BP 92/64 mmHg pallor, petechiae to his arms, legs, trunk. CBC: WBC 100,000 /cumm. Hb 6.7 gm/dl Hct 20 % Plt 15,000 /cumm Blast cells > 10% 1. เด็กรายนี้ควรได้รับการตรวจยืนยันโรคด้วยวิธีการใด 2. เด็กเป็นโรคอะไร เพราะเหตุผลใด 3. วางแผนโดยใช้กระบวนการพยาบาลอย่างไร ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ เด็กชายอายุ 3 ปี ส่งต่อมาจาก รพ.ชานเมือง ด้วยคลำพบก้อนในท้องตำแหน่ง Rt. upper quadrant ตรวจร่างกาย T 37.2 C, P 150 /min, R 30 /min, BP 124/96 mmHg, BW 10 kg การรักษา Prazosin tab 1 mg Amlopine tab 5 mg ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ อีก 4 สัปดาห์ ต่อมาแพทย์นัดทำ Biopsy : ผลชิ้นเนื้อ Wilms’ tumor chemotherapy : - Actinomycin-D 4 mg+NSS up to 20 ml drip in 15 min x 18 wks - Vincristine 0.7 mg IV push x 18 wks - Doxorubicin 17 mg + NSS 20 ml v drip in 30 min x 18 wks 1. ปัญหาที่สำคัญของเด็กรายนี้มีอะไรบ้าง 2. จงวางแผนโดยใช้กระบวนการพยาบาลอย่างไร ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Concept of Pediatric Cancers Nursing Bio Body-G&D Psycho Social Family-Peers Spiritual Life-threatening Activity S/S chemotherapy Rx radiation Pain surgery transplant Knowledge ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Kanj’ s conceptual model of pediatric cancers nursing, 2019
อาการที่สำคัญของโรคมะเร็งในเด็ก มีก้อน / บวม อย่างผิดปกติ ซีดและอ่อนเพลีย โดยไม่ทราบสาเหตุ เลือดออก/จ้ำเลือด เกิดทันทีทันใด เจ็บปวดเรื้อรัง มีไข้/เจ็บป่วยโดยไม่ทราบสาเหตุ ปวดศีรษะบ่อยๆและอาเจียน การมองเห็นเปลี่ยนแปลง น้ำหนักเพิ่มขึ้น / ลดลงอย่างรวดเร็ว American cancer society: how are childhood cancers found?, 2015, http:// www. cancer/ cancerinchildren/detailedguide/cancer-in-children-finding-childhood-cancers-early. ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
มะเร็งเม็ดเลือดขาว (leukemia) Acute leukemia : > 95% - ANLL (acute non-lymphocytic leukemia), AML(acute myeloid leukemia) 25-30% - ALL (acute lymphoid/lymphoblastic leukemia 70-75% 2. Chronic leukemia : < 5% - CML (chronic myeloid leukemia) - JMMol (juvenile myelomonocytic leukemia) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ cute ALL AML, CML ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
1. Acute Lymphoblastic Leukemia (ALL) มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน Bone marrow สร้าง Wbc ผิดปกติ เพิ่ม : Immature WBC ผล : ลด mature WBC, RBC, PLT Pathophysiology blasts ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Acute Lymphoblastic Leukemia Symptoms: • Fever • Pale • Echymosis/Bleeding • Hepatosplenomegaly * LN enlargement * Bone pain • Weight loss, poor appetite. etc. ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Dx:Bone Marrow Aspiration/Biopsy Blasts cells ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Lumbar Puncture : metastasis to CSF Blasts cells ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ การรักษา ALL The National protocals for ALL (แผนการรักษามะเร็งในเด็กของประเทศไทยทุกสถาบันได้ตกลงเหมือนกัน) ซึ่งมีหลายสูตร หลักการ 1.Chemotherapy -Induction of remission (4-6 wks) -Consolidation (6-8 wks) -CNS. Prophylaxis (4-6 wks) -Maintenance (2-3 yrs) 2.Transplantation : Stem cell โอกาสหาย 50% ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ การรักษา ALL ขั้นตอน วัตถุประสงค์ ยาที่นิยมใช้ Induction of remission ฆ่าเซลล์มะเร็งให้หมดไปจาก ไขกระดูกอย่างรวดเร็วด้วยปริมาณยาที่มาก Prenisolone, Vincristine, L-asparaginase +/- Dixorubicin Consolidation / intensification ให้ยาเคมีเสริมเพื่อฆ่าเซลล์ที่หลงเหลือให้หมด Methotrexate (MTX), 6-mercaptopurine (6MP) Cyclophosphamide (Cy), Cytarabine (Ara-C) L-asparaginase CNS prophylaxis ฆ่าเซลล์มะเร็งที่อาจแฝงใน เยื่อหุ้มสมอง MTX high dose/ cranial radiation 1,800 cGy MTX (intrathecal) Maintenance ฆ่าเซลล์มะเร็งที่หลงเหลือ ด้วยยาปริมาณน้อยอย่างต่อเนื่อง 6MP q day MTX q wk Vincristine q 4 wk Prednisolone 7 day q 4 wk ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ระบบน้ำเหลือง (Lymphatic System) เป็นระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลือง : ผลิต : ม้าม และไขกระดูก หน้าที่ : นำสารอาหาร และ Lymphocyte ไปทั่วร่างกาย http://cancerfightclub.blogspot.com/2013/04/lymphoma.html.retrived August 3,2013 ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
เซลล์ในระบบน้ำเหลือง Lymphoma(มะเร็งต่อมน้ำเหลือง) Pathophysiology เซลล์ในระบบน้ำเหลือง แบ่งตัวมากผิดปกติ การทำหน้าที่เสียไป ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ ชนิดของ Lymphomas Hodgkin’s lymphoma (HL) พบน้อยในเด็ก รักษาหายขาดได้ ด้วย เคมีบำบัดและ/ฉายรังสี 2. Non-Hodgkin’s lymphoma (NHL) พบบ่อยในเด็ก ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Non-Hodgkin’s lymphoma Epstein-Barr virus (EBV) Reed-Sternberg Cells cells localized in one / more group lymph node or surrounding chain in cervical / mediastinal LN. develop in peripheral lymph nodes and spread throughout the body. เป็นกระจาย เป็นกระจุก ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Pel-Ebstein fever Reed-Sternberg cell ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Hodgkin’s Lymphoma (HL) Symptoms • Painless swelling in 1 or more LN: 60-80% cervical , 60% mediastinum •Weight loss •Fever •Sweats •Weakness ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Non-Hodgkin’s lymphoma Symptom - LN enlargement : Anterior mediastinum -Abdominal ascites +/- -Pleural effusion -CNS / LN / lungs / testis muscle / GI / Bone / Skin -Intussusception ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Dx : Lymphoma ตัดชิ้นเนื้อไปตรวจ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ การรักษาLymphoma Chemotherapy : 6m -1 yr - induction remission - consolidation or intensification - CNS prophylaxis: LP+IT, /Cranial irradiation 3. Stem cell transplantation ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Wilms’ Tumor (มะเร็งไต) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Wilms’ Tumor หรือ Nephroblastoma เกิดความผิดปกติของ ดีเอนเอในเซลล์ของไต มีการแบ่งตัวมากมาย จนไม่สามารถควบคุมได้ จึงพบก้อนในท้อง Pathophysiology http://www.mayoclinic.org/diseases- conditions/wilms tumor/basics/prevention/con-20043492 retrive April 13, 2015 ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ มักพบร่วมกับความผิดปกติแต่กำเนิดอื่นๆ Hypospadia Aniridia ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Wilms’ Tumor หรือ Nephroblastoma Symptoms Abdominal swelling An abdominal mass Abdominal pain Fever Blood in the urine Nausea-Poor appetite Hypertension ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ การวินิจฉัยโรค การซักประวัติ การตรวจร่างกาย พบก้อนในท้อง ปวดท้อง ความผิดปกติร่วม พบปัสสาวะป็นเลือด ความดันโลหิตสูง 3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ/พิเศษ เช่น X-rays, CT, MRI. ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
การแบ่งระยะของ Wilms’ tumor https://www.slideshare.net/santam/management-of-wilms-tumors. September 3, 2017. ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Stage 1. 40 - 45% of all Wilms tumors are stage I. มะเร็งจำกัดอยู่เฉพาะในไต สามารถผ่าตัดออกได้หมด ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Staging II. The tumor has grown beyond the kidney, either into nearby fatty tissue or into blood vessels in or near the kidney, but it was removed completely by surgery without any apparent cancer left behind. Nearby lymph nodes (bean-sized collections of immune cells) do not contain cancer. The tumor was not biopsied before surgery. พบ 20% มะเร็งแพร่ออกนอกไต และยังสามารถผ่าตัดออกได้หมด ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Stage III. This stage refers to Wilms tumors that may not have been removed completely. The cancer remaining after surgery is limited to the abdomen . พบ 20 - 25% มะเร็งกระจายออกนอกไต ช่องท้อง อวัยวะอื่น ไม่เข้ากระแสเลือด ไม่สามารถผ่าตัดออกได้หมด ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Stage IV. The cancer has spread through the blood to organs away from the kidneys such as the lungs, liver, brain, or bones, or to lymph nodes far away from the kidneys. As with stage III tumors, surgery to remove the tumor might be the first treatment, but it might need to be delayed until other treatments can shrink the tumor. พบ 10% มะเร็งกระจายไปกระแสเลือด ปอด ตับ สมอง กระดูก ต่อมน้ำเหลือง ฯลฯ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Stage V. Tumors are found in both kidneys at diagnosis. Treatment for children with tumors in both kidneys is unique for each child, although it typically includes surgery, chemo, and radiation therapy at some point. 5% มีการแพร่กระจายไปไตทั้ง 2 ข้าง รักษาผสมผสาน ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ การรักษา Wilms’ tumor ผ่าตัดก้อนออกไป เคมีบำบัดทุกราย นาน 4-18 ด. หลังผ่าตัด 3. ฉายรังสีร่วมด้วยในบางราย ………………………………………… การพยากรณ์โรคดีมาก แต่ขึ้นกับระยะของโรค ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Neuroblastoma (มะเร็งเซลล์ประสาท/ต่อมหมวกไต) ความผิดปกติของเซลล์ตัวอ่อนของระบบประสาท sympathetic nervous system พบบ่อยที่ต่อมหมวกไต (adrenal medulla) Pathophysiology http://www.uptodate.com/contents/epidemiology-pathogenesis-and-pathology-of-neuroblastoma Retrived April 13,2015 ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Pathophysiology พยาธิสรีรวิทยา (ต่อ) มะเร็งระบบประสาท เริ่มเกิดที่เซลล์ตัวอ่อนของระบบประสาทซิมพาเทติก ที่มีการเจริญเติบโตโดยแบ่งตัวไม่หยุดจนเกิดเป็นก้อนและกระจายไปทั่วร่างกาย มักเริ่มที่ต่อมหมวกไต ไปแนวระบบประสาทซิมพาเทติก ด้านข้างของกระดูกสันหลัง ช่องท้อง ช่องอก ใกล้กระบอกตา (ตาคล้ำเหมือนตาแรคคูน) มักไปที่ต่อมน้ำเหลือง กระดูก ตับ เป็นต้น ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Neuroblastoma ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Symptoms: •Impaired ability to walk •Changes in eyes (bulging, dark circles, droopy eyelids) •Pain in various locations of the body •Diarrhea •High blood pressure ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ การวินิจฉัย การซักประวัติ การตรวจร่างกาย ลักษณะอาการทางคลินิก เช่น ก้อน ปวดกระดูก หนังตาตก คล้ำรอบกระบอกตา (raccoon eyes) อัมพาต เดินเซ ความดันโลหิตสูง การทางห้องปฎิบัติการ/ตรวจพิเศษ ปัสสาวะพบ VMA, CT scan พบก้อนในท้อง / เซลล์มะเร็งกระจาย ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Neuroblastoma มะเร็งเซลล์ประสาท Catecholamines Vanillyl Mandelic Acid (VMA) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
:https://www.google.co.th/search?q=neuroblastoma&dcr สืบค้น 14/10/2560
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ ลักษณะ มะเร็งไต มะเร็งเซลล์ประสาท 1.อายุ -พบมากเด็ก 2-3 ปี - พบมากเด็ก < 2 ปี 2.การเกิดร่วมกับ ความผิดปกติแต่ กำเนิดชนิดอื่นๆ -พบร่วมกับความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ/ ระบบสืบพันธุ์ - พบได้น้อย 3. ก้อนในท้อง -ร้อยละ 90 - ร้อยละ 28 4. ความดันโลหิต - ความดันโลหิตสูง 5. ลักษณะก้อน -ก้อนนุ่มอยู่ด้านใด ด้านหนึ่งของลำตัว เคลื่อนไหวได้ -ก้อนแข็ง ติดแน่นกับลำตัวและมักอยู่กลางลำตัว 6. อาการกด เส้นประสาท -ไม่มี - มี ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ ลักษณะ มะเร็งไต มะเร็งเซลล์ประสาท 7. ตาโปน/ เขียวรอบตา -ไม่มี -พบบ่อย 8. ซีด 9. ปัสสาวะ มีเม็ดเลือดแดง -พบร้อยละ 12-30 10. ตรวจ IVP -พบไตบิดเบี้ยว -ไตปกติแต่ อาจถูกกดเลื่อนลง 11. ตรวจปัสสาวะ หา VMA -ปกติ - สูงกว่าปกติ 12. การกระจาย ของโรค -ส่วนน้อยกระจายไปปอด ต่อมน้ำเหลือง ตับ และสมอง -ส่วนมากไป ตับ ไขกระดูก ต่อมน้ำเหลือง ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
การรักษา Neuroblastoma การผ่าตัดทำระยะที่ 1-2 ถ้าผ่าตัดได้หมด /ไม่แน่ใจว่าหมด + รังสีรักษา + เคมีบำบัด 2. รังสีรักษา เนื้องอกจะไวต่อรังสีรักษา ยกเว้นระยะที่ 1 (ผ่าตัดออกได้หมด) ถ้าก้อนโตมากใช้รังสีรักษาเพื่อให้ ก้อนเล็กลงก่อนการผ่าตัด / รักษารายที่มีก้อนกด เส้นประสาทเกิดอัมพาต /รังสีรักษาลดปวดจาก เนื้องอกในกระดูก 3. เคมีบำบัด + การผ่าตัด /รังสีรักษา รักษาเมื่อมีการ กระจายของโรคไปอวัยวะอื่นๆแล้ว 4. ปลูกถ่ายไขกระดูก ทำในรายที่การพยากรณ์โรคไม่ดี + เคมีบำบัด ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Brain / CNS tumor มะเร็งชนิดก้อน (Solid tumor) ที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
มะเร็งสมอง (Brain/CNS tumor) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ลักษณะอาการทางคลินิก 1. Headache, IICP, Hydrocephalus 2. nausea & vomiting 3. seizures, lethargy 4. motor abnormality, อ่อนแรง unsteady gait(เดินเซ),behavior change 5. weakness 6. irritability, hyper reflexes 7. failure to thrive (FTT), G&D ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ IICP ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ การวินิจฉัยโรค ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ การรักษา วัตถุประสงค์ของการรักษา และลำดับความสำคัญ 1. รักษาชีวิต กรณีที่เด็กมาด้วยอาการซึม ไม่รู้สึกตัว 2. รักษาคุณภาพชีวิตให้เป็นปกติ รวมพัฒนาการทางสมองในเด็ก 3. ควบคุม / กำจัดเนื้องอกสมองโดย พิจารณาคุณภาพชีวิตเด็กเป็นสำคัญ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ 1) ผ่าตัด วัตถุประสงค์ - acute hydrocephalus เจาะระบายน้ำในช่องโพรงสมอง (external ventricular drainage), การเจาะระบายน้ำในโพรงสมองด้วยกล้องส่องผ่าตัด (endoscopic third ventriculostomy) การผ่าตัดเพื่อเอาเนื้องอกออก / เพื่อมาตรวจบางส่วน (tumor biopsy) โดยการเจาะรู (stereotactic biopsy) / ส่องกล้อง (endoscopic biopsy) - เพื่อกำจัดปริมาณเนื้องอก (cytoreductive of tumor) โดยไม่มีผลต่อคุณภาพชีวิต ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ 2) ฉายแสงเพื่อควบคุม/กำจัดเนื้องอก (เด็ก < 3 ขวบ ไม่ฉายแสงเพราะมีผลต่อ สมอง-ผลข้างเคียงระยะยาว) 3) ยาต้านเนื้องอก เช่น เคมีบำบัด ยาต้านการ เจริญเติบโตของเส้นเลือด, immunotherapy 4) ยากันชักในผู้ป่วยเนื้องอกสมอง ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Hydrocephalus ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาโรคมะเร็ง
1. เคมีบำบัด (Chemotherapy) ขัดขวางการทำงานของเอ็นไซม์/สารองค์ประกอบของ DNA ของเซลล์
เคมีบำบัด (ต่อ) 1. ชักนำให้โรคสงบ (Induction of remission) เป้าหมาย: ทำลายเซลล์มะเร็งให้มากที่สุด - ยาเคมีบำบัดหลายชนิด 2. การรักษาเข้ม (Intensive Treatment) เป้าหมาย: ทำลายเซลล์มะเร็งที่เหลืออยู่ - ยาเคมีบำบัดขนาดสูง 3. ป้องกันการเกิดมะเร็งในระบบประสาทส่วนกลาง เป้าหมาย: ทำลายเซลล์มะเร็งในระบบ CNS -ให้ยาทางช่องไขสันหลัง + ฉายรังสีบริเวณศีรษะ 4. รักษาเพื่อให้โรคสงบต่อไป (Maintenance Therapy) เป้าหมาย: ควบคุมให้โรคสงบตลอดไป/ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ - ใช้ยาต้านมะเร็งหลายชนิดร่วมกัน
อาการที่พบได้บ่อย การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นกับเด็ก ได้ในทุกระบบของร่างกาย อุจจาระร่วง เยื่อบุช่องปาก อักเสบ เบื่ออาหาร/ น้ำหนักลด คลื่นไส้ /อาเจียน
ผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด ผิวหนัง เยื่อบุ ผม ขน ทางเดินอาหาร ไขกระดูก ไต ประสาท / สมอง
ระยะเวลาที่เกิดภาวะแทรกซ้อน ของยาเคมีบำบัด ขณะได้รับยา หลังได้ยา 24 ชั่วโมง หลังได้ยา 2- 3 สป. -คลื่นไส้ อาเจียน - กระเพาะปัสสาวะอักเสบ - เบื่ออาหาร ,นน.ลด -เนื้อเยื่ออักเสบ - อ่อนเพลีย, อ่อนแรง - ผมร่วง -มีไข้ หนาวสั่น - ท้องเดิน/ปวดท้อง - ปากอักเสบ - สี/กลิ่น urine - ไขกระดูกถูกกด - ผิวหนังแห้ง ผื่น เปลี่ยน @ เม็ดเลือดขาวต่ำ @ เม็ดเลือดแดงต่ำ @ เกล็ดเลือดต่ำ
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด -ความสะอาดช่องปาก ให้จิบน้ำผลไม้รสเปรี้ยว จัดกิจกรรมเพื่อเบี่ยงเบน หลีกเลี่ยงอาหารหวาน มัน กลิ่นฉุน ให้ได้รับยาแก้คลื่นไส้ อาเจียนตามแผน Nausea / Vomiting Company Logo www.themegallery.com
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด ให้รับประทานอาหารน้อย แต่บ่อยครั้ง/งดอาหารมีแก๊ส ความสะอาดภายในช่องปาก ให้ออกกำลังกายเบาๆ ก่อนอาหารเพื่อเพิ่ม ความอยากอาหาร Anorexia Company Logo www.themegallery.com
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด แยกผู้ป่วยอยู่ในเขตปลอดเชื้อ ให้รับประทานอาหาร ที่ปรุงสุก สะอาด สด สุขวิทยาส่วนบุคคลและ บริเวณรอบตัวผู้ป่วย สังเกตอาการแสดงของ การติดเชื้อ ของทุกช่องทาง โดยเฉพาะอวัยวะสืบพันธุ์ -ติดตามผลห้องปฏิบัติการ Neutropenia N< 1,500 /cumm. Neutropenia Company Logo www.themegallery.com
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด ป้องกันอุบัติเหตุ/เกิดบาดแผล -สังเกตอาการเลือดออก ในอวัยวะต่างๆ -อาหารไม่ทำลายทางเดินอาหาร -ดูแลให้ได้รับผลิตภัณฑ์ของเลือด ตามแผนเช่น FFP ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ Thrombocytopenia Plt < 50,000 Company Logo www.themegallery.com
Grading of thrombocytopenia Mild 50,000 – 150,000 Moderate 20,000 – 50,000 Severe < 20,000 cell/cu.mm ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Extravasation ต้องหยุดยาทันทีและดูดยากลับ ประคบเย็น นาน 15 นาที วันละ 4 ครั้ง ยกเว้น Vincristine, Vinblastine, Etoposide ) ประคบอุ่น
Double Syringe technique ป้องกันการรั่วซึมของยา และลดการอักเสบของหลอดเลือดดำ (Chemo - NSS) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
2. รังสีรักษา (Radiation therapy) เปลี่ยนส่วนประกอบของ DNA ในนิวเคลียสของเซลล์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ ภาวะวิกฤตจากเคมีบำบัด- รังสีรักษา Tumor lysis syndrome (TLS) การสลายของเซลล์มะเร็ง จำนวนมาก ทำให้ปลดปล่อยสาร ในเซลล์มะเร็งสู่กระแสเลือด มากมายเกินกว่าไต จะขับออกได้ Uric , PO4++, Ca++ K+ Renal failure Ventricular arrhythmia ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ TLS: มีการทำลายเซลล์มะเร็งจำนวนมาก จนไตไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ : พบผลเลือดในเด็ก - hyperuricemia (uric acid > 5.5 mg/dl) - hyperkalemia (K+ >6 mEq/ml) - hyperphosphatemia (PO4 > 6.5-10 mg/dl) - hypocalcemia (Ca++ < 7- 8 mg/dl) Rx & Ns ติดตามผล lab, force fluid, drugs: Al(OH)3 >>> จับกับ PO4 VS & HR. ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ 2. Leukostasis ภาวะที่มีเม็ดเลือดขาวจำนวนมากมายในเลือด (hyperleukocytosis) จนเกิดการอุดตันในอวัยวะ (wbc > 100,000 /μL) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Complications of Leukostasis brain - headache, blurred vision, visual loss, CVA gait instability, cranial n. def, retinal he hemorrhage/intracranial bleeding lungs - dyspnea. - pulmonary leukostasis renal failure metabolic - alterations sudden death ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Rx & Ns Leukostasis 1. chemotherapy 2. hydroxyurea; 3. leukapheresis (การแยกเม็ดเลือดขาวออก) ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
3. การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก (bone marrow transplantation
ผลกระทบ จากการเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก Graft versus host disease (GVHD) T- lymphocyte ในไขกระดูกที่เปลี่ยนถ่ายให้เด็กป่วย ทำปฏิกิริยาทำลายเซลล์ในเนื้อเยื่อของเด็กทุกระบบ (ผิวหนัง ตับ ลำไส้ฯ) S/S อ่อนเพลีย, ผื่นแดงที่หน้า ฝ่ามือ หลังเท้า, ไปทั่วตัว, ต่อมาหลุดลอกและเป็นแผลพุพอง ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผลกระทบจากการเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก (transplantation) ต่อ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Graft Versus Host Disease (GVHD) https://www.google.com/search?ei=awvOWtaoEMev0AS0iYfACA&q=graft+versus+host+disease+picture&oq=graft+versus+host+disease+picture
การรักษา/พยาบาล ภาวะแทรกซ้อน/ผลกระทบ 1. ซีดและเลือดออก: ให้ PRC 2. ติดเชื้อ : ยาปฏิชีวนะ, ความสะอาด, การอยู่ห้องแยก 3. Tumor Lysis Syndrome : ส่งผลไตวาย ปัสสาวะเป็นกรด 3.1 กรดยูริคในเลือดสูง : Allopulinal (Zyloric acid) 3.2 โปแตสเซียมในเลือดสูง : Kayexalate + sorbital 3.3 ฟอสฟอรัสในเลือดสูง : Aluminium hydroxide 3.4 แคลเซียมในเลือดต่ำ (2nd) :ให้สารน้ำเพียงพอ, NaHCO3 ให้ปัสสาวะเป็นด่าง
การรักษา/พยาบาล ภาวะแทรกซ้อน/ผลกระทบ (ต่อ) 4. Leukostasis : Hydroxyurea เปลี่ยนถ่ายเลือดถ้าอาการมาก 5. ทุพโภชนาการ : ให้อาหารที่มีคุณค่า, IVF 6. จิตสังคม : เข้าใจ เห็นใจ เด็กและครอบครัว วัยรุ่น ภาพลักษณ์
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็ง ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Ns.Dx. : - ติดเชื้อ/เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจาก WBC ต่ำ ฯ - ทำกิจกรรมได้ลดลงเนื่องจาก RBC ต่ำ/ซีด - เสี่ยงต่อภาวะเลือดออกง่ายเนื่องจาก PLT ต่ำ - มีไข้เนื่องจากติดเชื้อ/เคมีบำบัด - ได้รับสารอาหารและสารน้ำไม่เพียงพอต่อ ความต้องการเนื่องจากเบื่ออาหาร/เคมีบำบัด - ปวดเนื่องจากมีการลุกลามของโรคมะเร็ง/แผล ผ่าตัด - มีโอกาสเกิดอันตรายต่อสมองเนื่องจากความดันโลหิตสูง ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Ns.Dx - เคลื่อนไหวลำบาก/ไม่สุขสบายเนื่องจากมีก้อนในช่องท้อง มีภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากยาเคมีบำบัด ...... ความสามารถในการปรับตัวลดลง........ สูญเสียภาพลักษณ์จากยาเคมีบำบัด วิตกกังวลเนื่องจากการรักษาพยาบาล/หัตถการ ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Ns.Dx ไม่สามารถปรับตัวได้/การปรับตัวเปลี่ยนแปลง ครอบครัวพร่องความรู้ความรู้ในการดูแล... เปลี่ยนแปลงในกระบวนการปรับตัวของครอบครัว กลัวสูญเสียชีวิต/กลัวความตาย พัฒนาการและการเจริญเติบโตล่าช้าเนื่องจากการเจ็บป่วยเรื้อรัง ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ Touch of love by NURSE ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ เด็กชายอายุ 5 ปี มารดาพามาพบแพทย์ด้วยอาการ มีไข้ ปวดขาเวลาเดิน มีผื่นแดงขึ้นตามผิวหนังหลังจากได้รับยาปฏิชีวนะรักษาหูข้างซ้ายที่ติดเชื้อ PE: T 37.8 C, P 96 /min, R 26 /min, BP 92/64 mmHg pallor, petechiae to his arms, legs, trunk. CBC: WBC 100,000 /cumm. Hb 6.7 gm/dl Hct 20 % Plt 15,000 /cumm Blast cells > 10% 1.เด็กรายนี้ควรได้รับการตรวจยืนยันโรคด้วยวิธีการใด 2. เด็กเป็นโรคอะไร เพราะเหตุผลใด 3. วางแผนโดยใช้กระบวนการพยาบาลอย่างไร ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ ไข้ 37.8 C, WBC 100,000 /cumm ปวดขาเวลาเดิน ผื่นแดงหลังได้รัยาปฏิชีวนะ Pallor, Hb 6.7 gm/dl, Hct 20 % Petechiae, Plt 15,000 /cumm. Blast cells > 10% ………………………………………………………. 1.เด็กรายนี้ควรได้รับการตรวจยืนยันโรคด้วยวิธีการใด 2.เด็กเป็นโรคอะไร เพราะเหตุผลใด 3.วางแผนโดยใช้กระบวนการพยาบาลอย่างไร ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ เด็กชายอายุ 3 ปี ส่งต่อมาจาก รพ.ชานเมือง ด้วยคลำพบก้อนในท้องตำแหน่ง Rt. upper quadrant ตรวจร่างกาย T 37.2 C, P 150 /min, R 30 /min, BP 124/96 mmHg, BW 10 kg การรักษา Prazosin tab 1 mg Amlopine tab 5 mg อีก 4 สัปดาห์ ต่อมาแพทย์นัดทำ Biopsy : ผลชิ้นเนื้อ Wilms’ tumor ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ การรักษา (ต่อ) : - Actinomycin-D 4 mg+NSS up to 20 ml drip in 15 min x 18 wks - Vincristine 0.7 mg IV push x 18 wks - Doxorubicin 17 mg + NSS 20 ml v drip in 30 min x 18 wks 1. วางแผนโดยใช้กระบวนการพยาบาลอย่างไร ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Nursing Concept of Pediatric Cancers Bio Body-G&D Psycho Social Family-Peers Spiritual Activity S/S chemotherapy Rx radiation Pain surgery Kanj Sirich’s : Nursing concept of pediatric cancers , 2018 transplant Knowledge ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ การปรับตัว ความรุนแรง ของโรค การพยาบาล การรักษา ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
Kanj Sirich‘s : Nursing concept of pediatric with chemotherapy, 2018 assessment GI N/V, poor appetite stomatitis Low immunity Body image NC Hemato fatique, fever, bleeding Fear, Anxiety, Hope Skin sensitivity, alopecia Social& spiritual Activity in Dialy life Neuro pain, paresthesia Uro hematuria Knowledge ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ อ้างอิง กาญจนา ศิริเจริญวงศ์และลดาพร ทองสง.(2554). กระบวนการพยาบาลในผู้ป่วยเด็ก. ใน วิจิตรา กุสุมภ์. (บรรณาธิการ). กระบวนการพยาบาลและ ข้อวินิจฉัยการพยาบาล: การนำไปใช้ในคลินิก.(303-360).กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์. วินัย สุวัตถี.(2541).โรคมะเร็งในเด็ก: มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันในเด็ก. ใน กุมารเวชศาสตร์เล่ม 2. มนตรี ตู้จินดาและคณะ (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์. สมบูรณ์ จันทร์สกุลพร อรุชา ตรีศิริโชติ ชนาธิป ลือวิเศษไพบูลย์ โอฬาร พรหมาลิขิต เกศรา อัศดามงคลและไพโรจน์ จงบัญญัติเจริญ.(2555). กุมารเวชศาสตร์1 . กรุงเทพมหานคร: นพชัยการพิมพ์. สุขเกษม โฆษิตเศรษฐ ศุภระวรรณ อินทรขาว สุดาทิพย์ ผาติชีพและพชรพรรณ สุรพลชัย.(2557). บรรณาธิการ. วิกฤตในกุมารเวชศาสตร์ 1. Critical Care in Pediatric 1. กรุงเทพมหานคร: ไอกรุ๊ปเพลส. สามารถ ภคกษมา. (2559). ภาวะฉุกเฉินในโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน. ใน สามารถ ภคกษมา. (บรรณาธิการ). โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก Childhood Leukemia. (หน้า 207 - 214). กรุงเทพ:บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์. ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ อ้างอิง สมจิตร์ จารุรัตนศิริกุล กมลวิช เลาประสพวัฒนา มณีรัตน์ ภูวนันท์และนครินทร์ ตนคลัง. (2555). กุมารเวชศาสตร์ผู้ป่วยนอก. พิมพ์ครั้งที่ 3 สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์. สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี. (2561). การพยาบาลเด็ก. เอกสาร ประกอบการอบรมหลักสูตรระยะสั้น. กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล กรมการ แพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. วันที่ 25-29 มิถุนายน 2561. Behrman, R.E. (2004). Nelson textbook of pediatrics. Pennsylvania: Elsevier Saunders. Betz, CL. & Sowden, LA. (2004). MOSBY’S PEDIATRIC NURSING REFERECE. (5th ed.) St. Louis: Mosby. Bowden, V.R. (2010). Children and Their Families: The Continuum of Care. (2nded.) Philadelphia: Lippincott. Hockenberry, M. J. and Wilson, D. (2011).Wong’s nursing care of infants and children. (9thed.). Missouri: Elsevier Mosby. Kyle, T. & Carman, S.(2017). Pediatric Nursing: CLINICAL GUIDE. Wolters Kluwer: Philadelphia. ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์
ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ อ้างอิง https://www.sickkids.ca/clinical-practice-guidelines/clinical-practice- guidelines/ export/CLINS125/Main%20Document.pdf. http://www.ohsu.edu/xd/health/services/doernbecher/healthcare-professionals/maternal and-pediatric-nursing-network/nursing-resources/upload/APON_16-Oncologic-Emergencies.pdf https://www.cancer.org/cancer/wilms-tumor/detection-diagnosis-staging/staging.html Retrived August 30, 2017 http://en.wikipedia.org/wiki/Pel-Ebstein_fever. Retrived April 13, 2015 http://www.uptodate.com/contents/epidemiology-pathogenesis-and-pathology-of-neuroblastoma Retrived April 13, 2015 https://www.slideshare.net/santam/management-of-wilms-tumors. Retrived September 3, 2017. http://www.ohsu.edu/xd/health/services/doernbecher/healthcare-professionals/maternal-and-pediatric-nursing-network/nursing-resources/upload/APON_16-Oncologic-Emergencies.pdf. Retrived April 3, 2018 ผศ.กาญจนา ศิริเจริญวงศ์