หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
แนวทางการดำเนินงานและแลกเปลี่ยน สู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ 2559 กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดย คุณณัฐธิวรรณ พันธุ์มุง วันอังคารที่ 20 ตุลาคม 2558 ณ ห้องประชุม.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
SERVICE PLAN 59.
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด แผนงานโครงการ กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด ปีงบประมาณ 2563 นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

หลักเกณฑ์ในการพิจารณาโครงการ โครงการตามพระราชดำริ 4. กลุ่มโรคที่มีการป่วยผู้ป่วยนอกสูง (OPD) โรค จำนวน ลำดับของจังหวัด Hypertension 330,747 1 โรคจิตเภท 46,790 10 โรคมะเร็งเต้านม โรคมะเร็งตับ ท่อน้ำดี TO BE NUMBER ONE 5. กลุ่มโรคที่มีการดำเนินงานไม่ผ่านเกณฑ์ 2. กลุ่มโรคที่มีอัตราตายสูง โรค อัตรา/แสน ปชก ผ่าน/ไม่ผ่าน DPAC (BMI) 43.62 (เป้าหมาย> 55 ) ไม่ผ่าน สมาธิสั้นเข้าถึงบริการ 9.26 (เป้าหมาย> 18 ) ยาเสพติด (remission rate) 27.06 % (เป้าหมาย> 40 ) มะเร็งลำไส้ 68.59 (เป้า > 90 %) มะเร็งปากมดลูก 67.75 (เป้า > 90 ) โรค อัตรา/แสน ปชก ลำดับของจังหวัด Stroke 55.86 1 หัวใจ 52.07 2 อุบัติเหตุ 20.56 6 ไตวายเรื้อรัง 8.32 9 ฆ่าตัวตาย 5.30 10 3. กลุ่มโรคที่มีอัตราการ Admit สูง 6. กลุ่มโรคที่ต้องพัฒนา ดำเนินอย่างต่อเนื่อง โรค ร้อยละ ลำดับของจังหวัด DM 178.45 3 COPD 137.61 7 ติดแอลกอฮอล์ 125.44 8 1. การป้องกันการจมน้ำในเด็ก 2. ระบบบริการ EMS 3. งานพัฒนาระบบผู้พิการ 4. Intermediate Care 5. OSCC ที่มา : ข้อมูลจาก HDC วันที่ 12 กันยายน 2562

ลดป่วย ลดตาย ลดพิการ ลดปัจจัยเสี่ยงและภัยสุขภาพ เป้าประสงค์ ลดป่วย ลดตาย ลดพิการ ลดปัจจัยเสี่ยงและภัยสุขภาพ

มาตรการที่สำคัญ 1.สร้างกระแส สื่อสารความเสี่ยง 2.สร้างความร่วมมือกับทุกภาคส่วน 3.มีการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย 4.จัดระบบบริการ (ดูแลรักษา ส่งต่อ ติดตาม) 5.พัฒนาระบบข้อมูล 6.กำกับ ติดตาม ประเมินผล

1. โครงการพระราชดำริ สถานการณ์ ปัญหา ปัจจัยนำเข้า มาตรการ แผนงานโครงการ KPI มะเร็งเต้านม เป็นมะเร็งอันดับหนึ่งในสตรีจังหวัด ศรีสะเกษ 12.15/แสนประชากรสตรี -ประชาชนยัง ไม่เข้าถึงระบบ บริการ -การส่งต่อ -การติดตาม -สตรีอายุ 30-70 ปี -อสม. แกนนำสตรี -ภาคีเครือข่าย -วัสดุอุปกรณ์ -สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ -พัฒนาศักยภาพ อสม./ประชาชน -รณรงค์คัดกรอง -จัดระบบส่งต่อ โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านม คัดกรองประชาชนสตรีอายุ 30-70 ปี ร้อยละ 90 มะเร็งตับมะเร็ง ท่อน้ำดี อัตราตายด้วย มะเร็งตับมะเร็ง ท่อน้ำดี 25.61/แสนประชากร อัตราเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดีเพิ่มสูงขึ้น -ประชาชนอายุ 40 ปีขึ้นไป -แพทย์ บุคลากร -วัสดุอุปกรณ์ -เครื่องอัลตราซาวด์ -สำรวจประชากร เป้าหมาย -คัดกรองกลุ่มเสี่ยง โครงการป้องกันควบคุมโรคมะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี -คัดกรองประชาชนอายุ 40 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 100 -อัตราด้วยโรคมะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดีไม่เกิน 25.3/แสน TO BE NUMBER ONE จังหวัดรักษามาตรฐานพร้อมเป็นต้นแบบระดับเงิน ปีที่ 2 เยาวชนติดยา เสพติด ร้อยละ 40.04 -ผู้บริหาร -เยาวชน ประชาชน -ภาคีเครือข่าย -งบประมาณ ดำเนินการภายใต้ 3 ยุทธศาสตร์ โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE เยาวชนร้อยละ 90 เป็นสมาชิก TO BE NUMBER ONE

2.โครงการที่มีอัตราตายสูง 10 อันดับแรก จังหวัดศรีสะเกษ 2.โครงการที่มีอัตราตายสูง 10 อันดับแรก จังหวัดศรีสะเกษ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการที่เป็นเลิศ สถานการณ์ ปัญหา ปัจจัยนำเข้า มาตรการ แผนงานโครงการ KPI Stroke อัตราตาย 55.86 แสน ปชก ลำดับที่ 1 ของ จ.ศก -ความตระหนัก อาการเสี่ยงของ ผู้ป่วย -การมารับการรักษา ไม่ทันเวลา -คัดกรองในกลุ่ม เสี่ยงต่อการเกิด โรค: Pt HT DM ไขมันสูง -แพทย์เชี่ยวชาญ -มี Node รพ. -กลุ่มเสี่ยง : Stroke awareness -สถานพยาบาล : Stroke Alert โครงการป้องกันควบคุมโรคหลอดเลือดสมอง จังหวัดศรีสะเกษ อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ/อุดตัน (Ischemic Stroke ;I63) < 5 % โรคหัวใจ 52.07 / แสน ปชก ลำดับที่ 2 ของ จ.ศก -การเฝ้าระวังอาการ เสี่ยง ในกลุ่มเสี่ยง -อาการเสี่ยงไม่ชัด -การลดปัจจัยเสี่ยง ต่อการเกิดโรค -แพทย์เชี่ยวชาญ โรคหัวใจ และ ศัลยแพทย์ โรคหัวใจ -สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ -พัฒนาศักยภาพ อสม./ประชาชน -รณรงค์คัดกรอง -จัดระบบส่งต่อ 1.โครงการป้องกัน ควบคุมโรคหัวใจ สัญจร 2.โครงการป้องกัน ควบคุมโรคหัวใจ พิการแต่กำเนิด อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ(STEMI) < 26 ต่อ แสน ปชก. อุบัติเหตุ 20.56 / แสน ปชก ลำดับที่ 6 ของ จ.ศก -การขับเคลื่อนผ่าน ศปถ.อำเภอ ยังไม่ เข็มแข็ง -ระบบการรายงาน ข้อมูลยังไม่ถูกต้อง ครบถ้วน -การบังคับใช้ มาตรการทาง กฎหมาย -การมีส่วนร่วมทุก ภาคส่วน ทุกระดับ -พัฒนาระบบบริการ -บูรณาการข้อมูล 3 ฐาน -สอบสวนหาสาเหตุ อุบัติเหตุ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ ลดการเสียชีวิตจาก ไม่เกิน 20.9 ต่อแสนประชากร

2.โครงการที่มีอัตราตายสูง 10 อันดับแรก จังหวัดศรีสะเกษ 2.โครงการที่มีอัตราตายสูง 10 อันดับแรก จังหวัดศรีสะเกษ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการที่เป็นเลิศ สถานการณ์ ปัญหา ปัจจัยนำเข้า มาตรการ แผนงานโครงการ KPI ไตวายเรื้อรัง อัตราตาย 8.32 / แสน ปชก ลำดับที่ 9 ของ จ.ศก -การคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทาง ไตในกลุ่มเสี่ยง -DM HT Control -การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม -การลดการบริโภค โซเดียม -การบูรณาการ HT DM & CKD -คัดกรองภาวะ แทรกซ้อนทางไต ในกลุ่มเสี่ยง -การปรับพฤติกรรม -การพัฒนาระบบ ข้อมูล โครงการป้องกันควบคุมโรคไตวายเรื้อรัง จังหวัด ศรีสะเกษ -ร้อยละการคัด กรองความไตใน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง > ร้อยละ 80 -อัตราการกรองไต ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง > ร้อยละ 66 ฆ่าตัวตาย อัตราตาย5.30/แสน ปชก ลำดับ 10 ของจังหวัด -กลุ่มเสี่ยง :กลุ่ม ผู้ใช้สุรา ยาเสพติด โรคเรื้อรังเพิ่ม มากขึ้น -การประเมินค้นหา ผู้มีความเสี่ยงต่อ การฆ่าตัวตาย ใน กลุ่มเฝ้าระวัง ยังไม่ครอบคลุม -การมีแพทย์ เชี่ยวชาญ -PG ผู้ใหญ่ -การพัฒนาระบบ บริการ -ประเมินค้นหาผู้มี ความเสี่ยงต่อการ ฆ่าตัวตาย -การเฝ้าระวังการ ฆ่าตัวตายซ้ำ โครงการป้องกัน โรคซึมเศร้า/ ฆ่าตัวตาย อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จไม่เกิน 6.0 ต่อแสนประชากร

3.โครงการที่ ADMIT สูง 10 อันดับแรก จังหวัดศรีสะเกษ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการที่เป็นเลิศ สถานการณ์ ปัญหา ปัจจัยนำเข้า มาตรการ แผนงานโครงการ KPI DM -อัตราการ Admit ร้อยละ178.45 อันดับ ที่ 1 ของจังหวัด -ผู้ป่วย ไม่ยอมรับการ รักษา ขาดยา ขาดนัด ไม่ปรับ พฤติกรรม -ระบบบริการ : การ กระจายยา อุปกรณ์ ทางการแพทย์ -CM ครบ -ทีมสหวิชาชีพ -เวชภัณฑ์เพียงพอ -ญาติ ชุมชุมชน ส่วนร่วม -คัดกรอง -ปรับพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยง -พัฒนาระบบบริการ -พัฒนาฐานข้อมูล โครงการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดศรีสะเกษ -ผู้ป่วยโรคเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ > ร้อยละ 40 COPD -อัตราการ Admit ร้อยละ 137.61 อันดับ ที่ 7 ของจังหวัด -ผู้ป่วย : การรักษา ไม่ต่อเนื่อง -การจัดหายา ไม่ครอบคลุม -ทีมสหวิชาฃีพ -การปรับสภาพ แวดล้อม :ลด อาการกำเริบ -Node Spirometer -ตรวจสมรรถภาพ ปอดในผู้สูบรี่ -การจัดระบบริการ : การฟื้นสมรรถภาพ ปอด -การติดตาม PT โครงการป้องกันควบคุมโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง จังหวัด ศรีสะเกษ -ลดอัตราการ Admit ลง -อัตราการกำเริบ เฉียบพลันในผู้ป่วย COPD Alcohol -อัตราการ Admit ร้อยละ 125.44 อันดับ ที่ 8 ของจังหวัด -ผู้เข้ารับการบำบัด สุรา เลิกและ เลิกดื่ม มีจำนวน น้อย -การยินยอมเลิก สุรา -การใช้มาตรการ ทางสังคม -การคัดกรองติดสุรา -การบังคับใช้ กฎหมาย ปลอด เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ -การพัฒนาระบบ บริการ โครงการป้องกันควบคุมบุหรี่/สุรา จังหวัดศรีสะเกษ 1.ผู้ดื่มเสี่ยงสูงและเสี่ยงปานกลางเข้าสู่ระบบการบัดรักษา ร้อยละ 70 2.ผู้เข้ารับการบำบัดรักษาลดระดับความเสี่ยงของการดื่มลง ร้อยละ 20

4.โครงการที่มีจำนวนป่วย (OPD) สูง 10 อันดับแรก จังหวัดศรีสะเกษ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการที่เป็นเลิศ สถานการณ์ ปัญหา ปัจจัยนำเข้า มาตรการ แผนงานโครงการ KPI Hypertension -จำนวน Case OPD 330,747 อันดับ ที่ 1 ของ จังหวัด -ผู้ป่วย ไม่ยอมรับ การรักษา ขาดยา ขาดนัด ไม่ปรับพฤติกรรม -ระบบบริการ : การกระจายยา อุปกรณ์ทาง การแพทย์ -CM ครบ -ทีมสหวิชาชีพ -เวชภัณฑ์เพียงพอ -ญาติ ชุมชุมชน มีส่วนร่วม -คัดกรอง -ปรับพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยง -พัฒนาระบบบริการ -พัฒนาฐานข้อมูล โครงการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดศรีสะเกษ -ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตได้ > ร้อยละ 40 จิตเภท -จำนวน Case OPD 46,790 อันดับ ที่ 10 ของ จังหวัด -กลุ่มเสี่ยง : ยังไม่ เข้าระบบการ วินิจฉัย -ผู้ป่วย ขาดยา ไม่มีผู้ดูแลหลัก -การติดตามยังไม่ ครอบคลุม -การมีแพทย์ เชี่ยวชาญ -PG ผู้ใหญ่ -การพัฒนาระบบ บริการ -แบบประเมิน -การบันทึกข้อมูล ที่ถูกต้อง -คัดกรองประเมินค้นหาผู้มีความเสี่ยงต่อการป่วยจิตเภท -เข้ารับการวินิจฉัย ส่งต่อ ดูแลรักษา ตามมาตรฐาน -ติดตามเยี่ยมผู้ป่วยกลุ่มจิตเภท -โครงการป้องกัน โรคจิตเภท จังหวัดศรีสะเกษ -เพิ่มอัตราการเข้าถึงระบบบริการ ร้อยละ 85 -ลดอัตราการกำเริบซ้ำและAdmit ซ้ำ ไม่เกิน ร้อยละ 80

5. โครงการมี KPI ไม่ผ่านเกณฑ์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและคุมครองผู้บริโภคที่เป็นเลิศ สถานการณ์ ปัญหา ปัจจัยนำเข้า มาตรการ แผนงานโครงการ KPI DPAC ประชากรวัยทำงานมีดัชนีมวลกายปกติ (18.5-22.9 กก./ตร.ม2) ปี 2557-2562 ร้อยละ49.88,46.11,44.74 ,44.91,44.35 และ 43.45 ตามลำดับ ซึ่งไม่บรรลุค่าเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ ร้อยละ 56 ประชากรวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายปกติยังไม่บรรลุ ค่าเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ -ประชาชน -ภาคีเครือข่าย -การจัดสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการออก กำลังกาย -แบบประเมินตนเอง องค์กรไร้พุง -งบประมาณ -สื่อสารประชาสัมพันธ์ -พัฒนาศักยภาพ บุคลากรทุกระดับ -หน่วยงานประเมิน ตนเอง -ตรวจประเมิน สมรรถภาพบุคลากร -กำกับ ติดตาม ประเมิน โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC) จังหวัดศรีสะเกษ ดัชนีมวลกาย และรอบเอวของประชาชนวัยทำงาน อายุ 30-44 ปี ปกติ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 57 สมาธิสั้น อัตราการเข้าถึงโรคสมาธิสั้น ระดับเขต ร้อยละ 10.58 จังหวัดศรีสะเกษ ร้อยละ 9.26 1. การเข้าถึงบริการผู้ป่วยเด็กโรคสมาธิสั้น ยังไม่ผ่านเกณฑ์ (ร้อย ละ 10.84 ) 2. ขาดการประสานส่งต่อข้อมูลเด็กนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เข้ารับบริการ ระหว่าง รพ.สต.กับ รพช. 3. การจัดบริการตรวจรักษาใน รพช (ยังไม่มีคลินิกจิตเวชเด็กและวัยรุ่นที่ ให้บริการชัดเจน) 4. รพท./ รพช.ยังไม่มียาจิตเวชเด็ก 5. ความครอบคลุมของ PG เด็ก ใน รพช.ยังไม่ครบทุกแห่ง/หรือมี แต่ไม่ได้ทำงานจิตเวชเด็ก (ขาด 4 รพ.) และแพทย์ใน รพช. ยังไม่มีความมั่นใจในการวินิจฉัยโรคจิตเวชเด็ก -เด็กอายุ 6-15 ปี -ครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ แพทย์ -แบบฟอร์มการ คัดกรอง -ข้อมูลการคัดกรอง -งบประมาณ -สำรวจเป้าหมาย -คัดกรองประชากร เป้าหมาย -พัฒนาศักยภาพ บุคลากร ครู ผู้ปกครอง -จัดระบบการส่งต่อ -แพทย์วินิจฉัย กลุ่มเสี่ยง -พัฒนาระบบข้อมูล -กำกับ ติดตาม ประเมินผล โครงการคัดกรองสุขภาพจิตเด็กวัยเรียน 6-15 ปี จังหวัดศรีสะเกษ ประชากรอายุ 6-15 ปี ได้รับการคัดกรองโรคจิตเวช สมาธิสั้นเข้าถึงบริการ ร้อยละ 30

5.โครงการมี KPI ไม่ผ่านเกณฑ์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการที่เป็นเลิศ สถานการณ์ ปัญหา ปัจจัยนำเข้า มาตรการ แผนงานโครงการ KPI ยาเสพติด 1.remission rate ร้อยละ 27.06 2. ผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติด ยาเสพติด อายุ 18-24 ปี สูง ร้อยละ 40.04 3. ร้อยละการเข้ารับ การบำบัด ในระบบ สมัครใจ ต่ำ ร้อยละ 57 .72 4. อัตราการหยุดเสพ หลังการจำหน่าย 3 เดือน รวม 3 ระบบ ร้อยละ 39. 33 5. รพ.ผ่านการ ประเมิน HA ยาเสพติด ร้อย ละ 95.45 1. ผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติด ยาเสพติด เข้ารับ การบำบัดในระบบ สมัครใจใน โรงพยาบาล แบบ ผู้ป่วยนอก ต่ำ 2. ทรัพยากรในการ บำบัดฟื้นฟูไม่ เพียงพอในการ รองรับผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด 3. ขาดกลไกที่มี ประสิทธิภาพ ในการนำผู้เสพ กลับสู่สังคม 1.เด็ก เยาวชน ประชาชน 2.ผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติด ยาเสพติด 3.เจ้าหน้าที่ 4.หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 5.ภาคีเครือข่าย 6.แบบรายงาน 7.โปรแกรมข้อมูล 8.งบประมาณ 1.ส่งเสริมป้องกันไม่เสพยาเสพติด 2. บำบัด ฟื้นฟู ลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด และกลับคืนสู่สังคม 3.พัฒนาระบบข้อมูลและการสื่อสาร 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการ 5. พัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย โครงการ ป้องกัน บำบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพและผู้ติดยาเสพติดแบบบูรณาการ จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2563 1.ร้อยละ 20 ของผู้ป่วยยาเสพติดเข้ารับการบำบัดรักษา และติดตามดูแลต่อเนื่อง 1 ปี 2.ร้อยละ 20 ของผู้ป่วยยาเสพติดกลุ่มเสี่ยงก่อความรุนแรง ได้รับการประเมิน บำบัดรักษา และติดตามดูแลช่วยเหลือตามระดับความรุนแรง อย่างต่อเนื่อง

5. โครงการมี KPI ไม่ผ่านเกณฑ์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและคุมครองผู้บริโภคที่เป็นเลิศ สถานการณ์ ปัญหา ปัจจัยนำเข้า มาตรการ แผนงานโครงการ KPI มะเร็งลำไส้ เป็นมะเร็งอันดับห้าที่พบในเพศชายและเพศหญิง ความกลัวโรคมะเร็ง การเข้าถึงการตรวจ Colonoscopy น้อย -ประชาชนอายุ 50 – 70 ปี -การจัดหา Fit test -ขั้นตอนการตรวจ - แพทย์เชี่ยวชาญการส่องกล้อง -สำรวจกลุ่มเป้าหมาย -ส่งต่อกลุ่มเสี่ยง -ตรวจ colonoscopy -รักษา - เยี่ยมติดตาม โครงการป้องกันควบคุมโรคมะเร็งลำไส้จังหวัดศรีสะเกษ ประชากรสิทธิ UC อายุ 50-70 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ≥ 90% มะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอับสองในสตรีจังหวัดศรีสะเกษ การเข้าถึงบริการตรวจยังน้อย ความอาย -ประชากรหญิงอายุ 30 – 60 ปี -การติดตามกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการตรวจ - ค่าใช้จ่ายการอ่านสไลด์ -สำรวจเป้าหมาย -คัดกรองประชากร เป้าหมาย -พัฒนาศักยภาพ บุคลากร -จัดระบบการส่งต่อ -พัฒนาระบบข้อมูล -กำกับ ติดตาม ประเมินผล โครงการป้องกันควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกจังหวัด ศรีสะเกษ ร้อยละสตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก สะสม 5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

6.โครงการที่ต้องพัฒนาและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นเลิศ สถานการณ์ ปัญหา ปัจจัยนำเข้า มาตรการ แผนงานโครงการ KPI จมน้ำ -อัตราการจมน้ำเสียชีวิตในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ของจังหวัด ศรีสะเกษ ยังสูง -เด็กขาดทักษะการ ว่ายน้ำเพื่อเอา ชีวิตรอด -ผู้ปกครองขาด ความรู้ความเข้าใจ เรื่องทักษะการว่าย น้ำเพื่อเอาชีวิตรอด เพราะส่วนมากเด็ก อยู่กับปู่ย่าตายาย -ท้องถิ่น/ชุมชน ยังมีส่วนร่วมในการ ดำเนินการป้องกัน เด็กจมน้ำน้อย -เยาวชน ประชาชน -ภาคีเครือข่าย -งบประมาณ -พัฒนาศักยภาพครูสอนว่ายน้ำเพื่อเอา ชีวิตรอด -สร้างทีมผู้ก่อการดี ให้ครอบคลุม ตำบล/หมู่บ้าน ทุกอำเภอ -สอนเด็กว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดครอบคลุมเด็ก อายุ 6-14 ปี ≥ 50% -กำกับติดตาม ประเมินผล โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุ ต่ำกว่า 15 ปี จังหวัดศรีสะเกษ -ลดอัตราการจมน้ำ ในประชากรอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 3.5/แสนประชากร

6.โครงการที่ต้องพัฒนาและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบบริการที่เป็นเลิศ สถานการณ์ ปัญหา ปัจจัยนำเข้า มาตรการ แผนงานโครงการ KPI EMS -การเข้าถึงบริการ ในระบบการแพทย์ ฉุกเฉินของ ประชาชน ร้อยละ3 -การเรียกใช้บริการ ในระบบการแพทย์ ฉุกเฉิน(1669) ร้อยละ 88.31 -การนำส่ง case วิกฤติฉุกเฉิน (สีแดง) ร้อยละ 15 -หน่วยปฏิบัติการ ในระบบ EMS ยังไม่ ครอบคลุมทุก อบต. -การเรียกใช้ 1669 ยังต่ำ -การประเมิน คุณภาพบริการ ยังไม่ทั่วถึง (ทีมอาสาสมัคร กู้ชีพ) -ทีมอาสาสมัครกู้ชีพ -ยานพาหนะ -ทีม MERT MINIMERT MCATT -การเรียกใช้ 1669 -วัสดุอุปกรณ์ -งบประมาณ -สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ -ส่งเสริมและ สนับสนุน ภาคีเครือข่าย -ควบคุม กำกับ ติดตาม ประเมินผล โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดศรีสะเกษ ให้บริการประชาชนในพื้นที่จังหวัด ศรีสะเกษ อย่างน้อยร้อยละ 4 ของประชากร

6.โครงการที่ต้องพัฒนาและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการที่เป็นเลิศ สถานการณ์ ปัญหา ปัจจัยนำเข้า มาตรการ แผนงานโครงการ KPI ผู้พิการ -ไม่มีฐานข้อมูลผู้พิการ ในแต่ละประเภทที่ต้องได้รับการฟื้นฟูด้านการแพทย์ -ระบบการดำเนินงาน IMC ในแต่ละอำเภอ ยังไม่ชัดเจน -ไม่สามารถประเมินได้ว่าผู้พิการในแต่ละประเภทได้รับการฟื้นฟูด้านการแพทย์หรือไม่ - งาน IMC ในระดับ อำเภอไม่มี ผู้ประสาน/ ผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน -ประชาชน -ภาคีเครือข่าย -บุคลากร -งบประมาณ เพียงพอ -พัฒนาระบบบริการ สุขภาพ -เพิ่มอัตราการเข้าถึง บริการ -ส่งเสริมและสนับสนุน ภาคีเครือข่าย -ควบคุม กำกับ ติดตาม ประเมินผล โครงการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการและ IMC จังหวัดศรีสะเกษ 1.ผู้พิการ ทุกประเภทได้รับการฟื้นฟูด้านการแพทย์ ร้อยละ 70 2.ร้อยละ 75 ของโรงพยาบาลระดับ M และ F มีบริการ IMC ที่ชัดเจนตามเกณฑ์ 3.ร้อยละ 70 ของผู้ป่วย Stroke ,Traumatic Brain injury ที่ Barthel index < 15 ได้รับการฟื้นสภาพทั้งระยะกลาง และติดตามจนครบ 6 เดือนหรือจน Barthel index = 20 OSCC การขยายงานไปสู่ รพ.สต. และการเชื่อมโยงการทำงานระหว่างกระทรวง ยังไม่ชัดเจน - การนำเข้าข้อมูลผู้รับบริการไม่ครบถ้วน -การช่วยเหลือผู้ถูกกระทำความรุนแรง ทำได้ยาก -เด็ก สตรี -หญิงตั้งครรภ์ ก่อนวัยอันควร -ผู้ได้รับผลกระทบ จากความรุนแรง -ภาคีเครือข่าย -สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ -พัฒนาศักยภาพ บุคลากร ภาคีเครือข่าย -จัดระบบส่งต่อที่มี ประสิทธิภาพ โครงการพัฒนาระบบบริการศูนย์พึ่งได้จังหวัดศรีสะเกษ เด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรงและ ผู้ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ได้รับการดูแลช่วยเหลือตามเกณฑ์ ร้อยละ 80

สรุปแผนงานโครงการกลุ่มงาน NCD โครงการพระราชดำริ โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านม 2. โครงการป้องกันควบคุมโรคมะเร็งตับมะเร็งท่อน้ำดี 3. โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE

ยุทธศาสตร์ที่ 1 สรุปแผนงานโครงการกลุ่มงาน NCD ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นเลิศ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC) 2. โครงการคัดกรองสุขภาพจิตเด็กวัยเรียน 6-15 ปี 3. โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี

สรุปแผนงานโครงการกลุ่มงาน NCD พัฒนาระบบบริการที่เป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการที่เป็นเลิศ 1.โครงการป้องกันควบคุมโรคหลอดเลือดสมอง 2.โครงการป้องกันควบคุมโรคหัวใจสัญจร 3.โครงการป้องกันควบคุมโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด 4.โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ 5.โครงการป้องกันควบคุมโรคไตวายเรื้อรัง

สรุปแผนงานโครงการกลุ่มงาน NCD พัฒนาระบบบริการที่เป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการที่เป็นเลิศ 6.โครงการป้องกันโรคซึมเศร้า/ฆ่าตัวตาย 7.โครงการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 8. โครงการป้องกันควบคุมโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 9. โครงการป้องกันควบคุมบุหรี่/สุรา 10. โครงการป้องกันโรคจิตเภท จังหวัดศรีสะเกษ

สรุปแผนงานโครงการกลุ่มงาน NCD พัฒนาระบบบริการที่เป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการที่เป็นเลิศ 11. โครงการ ป้องกัน บำบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพและ ผู้ติดยาเสพติดแบบบูรณาการ จังหวัดศรีสะเกษ 12. โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดศรีสะเกษ 13. โครงการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการและ IMC จังหวัดศรีสะเกษ 14. โครงการพัฒนาระบบบริการศูนย์พึ่งได้จังหวัดศรีสะเกษ 15.โครงการป้องกันควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกจังหวัดศรีสะเกษ 16.โครงการป้องกันควบคุมโรคมะเร็งลำไส้จังหวัดศรีสะเกษ

ตะโกน โยน ยื่น ช่วยเด็กจมน้ำ อุบัติเหตุป้องกันได้ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ ผู้พิการ ตะโกน โยน ยื่น ช่วยเด็กจมน้ำ อุบัติเหตุป้องกันได้