การบรรยายในหัวข้อ “ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
พันธกรณีการเจรจาต่อภายใต้ความตกลง TAFTA TNZCEP และ JTEPA:
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
ประชาคมอาเซียน.
การประเมินผลการนำนโยบาย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ไปปฏิบัติของ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน ผู้วิจัย กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม.
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน. 2 ผลการดำเนินงานที่สำคัญสู่ AEC 2015 การลดภาษีศุลกากรขาเข้าลดเหลือ 0% เกือบทุกรายการ การอำนวยความสะดวกทางการค้า เช่น - การจัดทำระบบศุลกากรหน้าต่าง.
แผนงานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายหลังปี 2558 ( ) ประเด็น / มาตรการปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 การศึกษาการเปิดเสรีภาคบริการในสาขาอื่นๆ.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
สาระสำคัญของ ร่างพระราชบัญญัติธนาคาร ที่ดิน พ. ศ..... โดย นายธรรมนิตย์ สุมันตกุล อดีตรองเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ยุทธศาสตร์ สป.พม. พ.ศ ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ป.ย.ป. คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง เป็นส่วนที่ตั้งขึ้นโดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
หลักสูตรเสริมสร้างเกียรติภูมิข้าราชการ : สำนึกข้าราชการไทยไม่โกง
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การประชุมคณะกรรมการความร่วมมือด้านการลงทุนของอาเซียน (CCI) ครั้งที่ ๖๔
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
ร่าง ยุทธศาสตร์กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ. ศ
การจัดการความรู้ Knowledge Management
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
กลุ่มที่ 5: การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานอย่างเป็นระบบ
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
การประชุมผู้บริหารระดับสูง
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบรรยายในหัวข้อ “ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี” นายสมเกียรติ ตรีรัตนพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า 15 กันยายน 2559

ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี (กรกฎาคม 2559 – พ.ศ. 2579) Value Creation Service Economy Inclusive & Fair Sustainable Regional Integration Demand Driven ยุทธศาสตร์ 1 การพัฒนาผู้ประกอบการแบบครบวงจร เพื่อให้มีความสามารถแข่งขันระดับภูมิภาคและโลก ยุทธศาสตร์ 2 การพัฒนาระบบการค้าให้มีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงจากภายนอก ยุทธศาสตร์ 3 การเสริมสร้างบทบาทผู้บริโภค เพื่อรองรับระบบเศรษฐกิจการค้าอนาคต ยุทธศาสตร์ 4 การบูรณาการกับระบบการค้าโลก เพื่อใช้ประโยชน์จากภายนอก Farmer Smart Farmer Local player Regional & Global player Supply Mgt Demand & Supply Mgt Partly Digital Comprehensively Digital Invention Commercialization Services High Value Services Exclusive Inclusive & Sustainable Growth Regulate Monitor & Facilitate Passive Smart & Proactive Consumer Unilateral Interconnected Action

ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี (กรกฎาคม 2559 – พ.ศ. 2579) Competitiveness Connectivity Cohesiveness สร้างความเข้มแข็งทางการเศรษฐกิจการค้าของประเทศ ด้วยการยกระดับความสามารถทางการแข่งขัน (Competitiveness) โดยมุ่ง - ส่งเสริมการสร้างมูลค่า (Value Creation) ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนจากการผลิตและขายส่งมอบตามคำสั่งซื้อ เป็นการสร้างรูปแบบดีไซน์ของตนเอง สร้างแบรนด์ของตนเอง และทำตลาดด้วยตนเอง เพื่อให้มีตลาดที่เป็นของตนเอง - ส่งเสริมพัฒนาเศรษฐกิจการค้าภาคบริการ (Service Economy) ซึ่งไทยสามารถใช้วัฒนธรรมจิตบริการกับความละเอียดอ่อนของคนไทยไปสร้างการค้าบริการให้เป็นตัวนำเศรษฐกิจไทยในอนาคต สร้างโอกาสทางการเศรษฐกิจการค้าของประเทศ ด้วยการผลักดันความเชื่อมโยงกับโลก (Connectivity) โดยมุ่ง - ใช้อุปสงค์นำการค้า (Demand Driven) ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนจากการส่งเสริมสินค้าที่ผลิตแล้วออกไปสู่ตลาด เป็นการศึกษาตลาดเพื่อเข้าใจความต้องการของตลาดและส่งเสริมให้ผลิตตามดวามต้องการของตลาด ช่วยให้ไม่มีปัญหาการขาย - บูรณาการกับภูมิภาค (Regional Integration) เพื่อใช้ประโยชน์จากประสานเศรษฐกิจกับประเทศในภูมิภาคทำให้การเศรษฐกิจการค้าการลงทุนระหว่างกันมีความคล่องตัว สร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจการค้าของประเทศ ด้วยการสร้างแรงยึดเหนี่ยวในระบบเศรษฐกิจการค้าของประเทศ (Cohesiveness) โดยมุ่งไปที่ - สร้างการค้าที่เป็นธรรม (Fair) ทั่วถึง (Inclusive) และยั่งยืน (Sustainable) เพื่อไม่ให้บางภาคส่วนของเศรษฐกิจและสังคมถูกทอดทิ้งไว้เบื้องหลัง โดยเฉพาะชนบท ผู้มีรายได้น้อยและผู้ด้อยโอกาส

(มท./ท้องถิ่น/กค./บีโอไอ/อก./กษ./วท./กก./ธปท./กต./ สมาคมการค้า) ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การพัฒนาผู้ประกอบการแบบครบวงจร เพื่อให้มีความสามารถแข่งขันระดับภูมิภาคและโลก กลยุทธ์ พัฒนาเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการ พัฒนาผู้ประกอบการ ให้สามารถจัดการ demand & supply อย่างครบวงจร cross sector รวมทั้งส่งเสริมการเชื่อมโยงกับท้องถิ่นและขยายไปต่างประเทศ ส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจเพื่อสังคม ส่งเสริม SME รู้ใช้ Trade Digitization เพื่อให้ธุรกิจทันสมัย ส่งเสริมการใช้นวัตกรรมที่ตอบสนองความต้องการของตลาด และต่อยอดนวัตกรรมด้วยการตลาด พัฒนาธุรกิจบริการให้มีมาตรฐานและคุณภาพ ระดับสูง กลไก พณ. (มท./ท้องถิ่น/กค./บีโอไอ/อก./กษ./วท./กก./ธปท./กต./ สมาคมการค้า)

ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาระบบการค้าให้มีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงจากภายนอก กลยุทธ์ ปรับกฎระเบียบสู่การค้าเสรี สอดคล้องกับนวัตกรรมทางการค้าสมัยใหม่ พัฒนากลไกเยียวยาผู้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า สร้างและพัฒนา trade digitization พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการค้า ทั้ง hardware และ software พัฒนากลไกการกำกับดูแลธุรกิจ และสร้างความน่าเชื่อถือในรูปแบบธุรกิจสมัยใหม่ พัฒนาระบบชั่งตวงวัด พัฒนาระบบการค้าบริการ ให้มีความสะดวก ทันสมัย มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมวัฒนธรรมการค้าที่เป็นธรรมและยั่งยืน พัฒนาระบบตลาดเชื่อมโยงท้องถิ่นกับเมือง กลไก พณ. (สคบ./สมาคมการค้า/องค์กรภาคประชาชน) กลไก พณ. (มท./ท้องถิ่น/กค./บีโอไอ/อก./กษ./วท./กก./ธปท./กต./ สมาคมการค้า)

(สคบ./องค์กรภาคประชาชน) ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การเสริมสร้างบทบาทผู้บริโภค เพื่อรองรับระบบเศรษฐกิจการค้าอนาคต กลยุทธ์ ส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีความรู้ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน มีความพอประมาณ และสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของตลาดและนวัตกรรมสมัยใหม่ได้อย่างทันท่วงที สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีบทบาทในการดูแลตลาด และกำหนดพัฒนาการของตลาด กลไก พณ. (สคบ./องค์กรภาคประชาชน)

ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การบูรณาการกับระบบการค้าโลก เพื่อใช้ประโยชน์จากภายนอก กลยุทธ์ ประสานเศรษฐกิจการค้าการลงทุนกับอาเซียน โดยเฉพาะ CLMV ด้วยการเจรจาเปิดเสรี สร้างมาตรฐานร่วม และ เชื่อมโยงระบบขนส่ง ประสานเศรษฐกิจการค้าการลงทุนและใช้ประโยชน์จากความ ร่วมมือระดับพหุภาคี อาทิ RCEP TPP WTO ขับเคลื่อนกลไกการค้ากับประเทศกำลังพัฒนา สร้างความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการค้าอย่างใกล้ชิดกับประเทศพัฒนาแล้ว สร้างการรับรู้และการยอมรับในสินค้าและบริการของของไทยในเวทีโลก ประสานการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยอำนวยความสะดวกการค้าของไทยในต่างประเทศ พณ. (กต./กก./ ททท.) กลไก

ขอบคุณครับ

คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ ความเป็นมา มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2558 เห็นชอบให้มีการจัดตั้ง “คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ” คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์และกรอบการปฏิรูป เพื่อจัดทำร่างกรอบ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี คณะอนุกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการตามแนวทางการปฏิรูปประเทศ เพื่อจัดทำร่างแผนปฏิบัติการแนวทางการปฏิรูปประเทศ (Roadmap) ภายใต้ยุทธศาสตร์ 20 ปี

กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ที่เกี่ยวข้อง กับกระทรวงพาณิชย์ ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มุ่งยกระดับผลิตภาพการผลิตและการใช้นวัตกรรมและการพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งในสาขาอุตสาหกรรม เกษตรและบริการ เพิ่มขีดความสามารถทางการค้าและการเป็นผู้ประกอบการ พัฒนาฐานเศรษฐกิจแห่งอนาคต ด้วยการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ มุ่งสู่การเป็นชาติการค้า ใช้ดิจิทัลและการค้าที่เข้มข้นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและขยายกิจกรรมการผลิตและบริการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน/พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ/เมืองพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน รวมถึงการเชื่อมโยงภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและ พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ ปรับปรุงโครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงานภาครัฐให้มี ขนาดที่เหมาะสม บูรณาการบริหารราชการ การ พัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคน และพัฒนาบุคลากร วิสัยทัศน์ยุทธศาสตร์การปฏิรูปประเทศไทยและการปรับเปลี่ยนกลไกภาครัฐ โดย สปช. การจัดทำยุทธศาสตร์ กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Mega Trend Economic Technological Environmental Social Political - Globalization & Borderless/Free Flow of Investment (Fast response/EoDB) - Digital (E-Commerce Oriented) - Climate Change (Crisis Preparedness) - Environmental Concern - Demographic Change - Rapid Urbanization - Lifestyle Change - Security & Safety Concern (e.g. Terrorism)

ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี (กรกฎาคม 2559 – พ.ศ. 2579) “การค้าก้าวหน้า ประชาสุขใจ” Advancing trade for people’s happiness ฉับไว โปร่งใส มองไกล ใกล้ชิดประชาชน Value Creation Service Economy Inclusive & Fair Sustainable Regional Integration Demand Driven

ประเด็นยุทธศาสตร์ ในยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ ระยะ 20 ปี Farmer -> Smart Farmer Local player -> Regional & Global player Supply Mgt -> Demand & Supply Mgt Partly Digital -> Comprehensively Digital Invention -> Commercialization Services -> High Value Services ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาผู้ประกอบการแบบครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบการค้าให้มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเสริมสร้างบทบาทผู้บริโภค ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบูรณาการกับระบบการค้าโลก Exclusive -> Inclusive & Sustainable Growth Regulate -> Monitor & Facilitate Passive -> Smart & Proactive Consumer Unilateral -> Interconnected Action

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การพัฒนาผู้ประกอบการแบบครบวงจร เพื่อให้มีความสามารถแข่งขันระดับภูมิภาคและโลก Quick Win จัดตั้งสถาบันส่งเสริมสินค้าเกษตรนวัตกรรม เร่งรัดแก้ไขปัญหา backlog คำขอจดทะเบียนสิทธิบัตร และเครื่องหมายการค้า เร่งรัดแก้ไขปัญหาการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา ผลักดันส่งเสริมการพัฒนาการค้าภาคบริการ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาระบบการค้าให้มีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงจากภายนอก Quick Win ปฏิรูประบบการผลิตและการค้าสินค้าเกษตรโดยใช้การตลาดนำการผลิต เช่น ข้าว ปาล์มน้ำมัน น้ำตาล มันสำปะหลัง ปฏิรูปกฎหมาย เช่น กฎหมายแข่งขันทางการค้า กฎหมายการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว กฎหมายการจัดตั้งนิติบุคคลคนเดียว กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา บังคับใช้กฎหมายหลักประกันทางธุรกิจ ผลักดันอำนวยความสะดวกทางธุรกิจและการค้า เช่น จดทะเบียนธุรกิจ NSW MOC-OSS สร้างตลาดชุมชน เช่น ตลาดต้องชม หมู่บ้านทำมาค้าขาย Farm Outlet

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การเสริมสร้างบทบาทผู้บริโภค เพื่อรองรับระบบเศรษฐกิจการค้าอนาคต Quick Win สร้างทางเลือกให้ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อสินค้าในราคาที่เป็นธรรม และลดค่า ครองชีพด้วยการจัดงาน “ธงฟ้า” ให้ทั่วถึงและพัฒนาโครงการ“หนูณิชย์พาชิม” พัฒนาแอพพลิเคชั่น “ลายแทงของถูก” เพื่อสร้างค่านิยม “ฉลาดซื้อ ประหยัดใช้” พัฒนาช่องทางการร้องเรียนให้มีความสะดวกรวดเร็ว เช่น สายด่วนผู้บริโภค 1569 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายผู้บริโภค

ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การบูรณาการกับระบบการค้าโลก เพื่อใช้ประโยชน์จากภายนอก Quick Win กระชับความร่วมมือ CLMVT เพื่อลดอุปสรรคการค้าการลงทุน และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภูมิภาค สร้างภาพลักษณ์สินค้า/ธุรกิจบริการของไทยให้เป็นที่รู้จักและยอมรับในต่างประเทศ ผลักดันการส่งออกโดยใช้การตลาดนำการผลิตและการใช้กลยุทธ์ลงลึกระดับเมือง เข้าร่วมประชุมเจรจาเพื่อขยายตลาด สร้างความเข้าใจและใช้ประโยชน์ความตกลง