ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PMQA PMQA : STATUS ต่ำ กลาง สูง
Advertisements

วิธีการจัดแฟ้มมาตรฐาน
Visual Control งานโภชนาการ รพ.สงขลานครินทร์.
PDCA คืออะไร P D C A.
ตารางแสดงตัวชี้วัดที่เฝ้าระวัง หน่วยไตเทียม ก่อนทำCQI
การเพิ่มผลผลิต Productivity
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
การวางแผน Planning.
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพ
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า

NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it. Then click the Pictures icon in the placeholder to insert your own image. แนวทางการขับเคลื่อน.
หลักสูตร การเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การประปาส่วนภูมิภาค วิทยากร : วุฒทัย การสมใจ และคณะ.
ฝ่ายนโยบาย แผน และประกันคุณภาพการศึกษา งานนโยบาย แผน งานข้อมูล สารสนเทศ งานมาตรฐาน การศึกษาและ งานประกัน คุณภาพ การศึกษา งานนิเทศ กำกับ ติดตามและ ประเมินผล.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
รายละเอียดตัวชี้วัดตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ลดข้อผิดพลาด รวดเร็ว สมบูรณ์
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
ภารกิจ ศธภ./ศธจ..
บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานความปลอดภัยตามกฏหมาย
สภาพปัจจุบัน (Actual)
“วัฒนธรรมองค์กร” (Organization Culture)
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บทที่ 2 ภาพรวมกระบวนการ (A Generic View of Process)
โครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
เทคนิคการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
กลยุทธ์การออกแบบ การจัดบริการสนับสนุนการเรียนรู้เชิงรุกสำหรับห้องเรียนอัจฉริยะ (Strategic for Services Design to Supporting Active Learning in Smart Classroom)
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
คณะที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ การบริหารการเงินการคลัง
การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม,หน่วยงานคุณธรรม
หลักการและแนวคิดในการเขียนโครงการ เพื่อการพัฒนานิสิต
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ของบ้านพักเด็กและครอบครัว ประจำปีงบประมาณ พ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
เส้นทางห้องสมุดสีเขียวสู่สำนักงานสีเขียว
Techniques Administration
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
การมีส่วนร่วมของชุมชนและประชาชน: แนวคิด และประสบการณ์วิจัย
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การจัดการความปลอดภัยระบบสารสนเทศ (Information Security Management System : ISMS) ด้วย เกณฑ์มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ISO/IEC และ ISO/IEC
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
Educational Standards and Quality Assurance
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา THM 3307 การจัดการงานฝ่ายห้องพัก 
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
องค์ประกอบ ตัวชี้วัด ค่าน้ำหนัก และเกณฑ์การ ประเมิน มาตรฐานสถานที่จัดงานประเทศไทย (ประเภทห้องประชุม) ฉบับปรับปรุง 2558 กลุ่มที่ 1 ศูนย์ประชุม/อาคารแสดง.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
บทที่ 1 บทนำเรื่องคุณภาพ.
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของ สกพ
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
แนวปฏิบัติที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพ การทำบัตรประจำตัวนักศึกษาใหม่
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
ลักษณะภูมิประเทศแอฟริกกา
นางสาวอรไท แซ่จิว สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว เกษวรรณ แช่มช้อย งานการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต ชื่อเรื่อง ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว 1.สภาพปัญหาก่อนปรับปรุง (Plan ) 2.กระบวนการปรับปรุง/สภาพหลังปรับปรุง ( Do)  สภาพการทำงานเดิม และปัญหาที่พบ การจ่ายงานให้กับพยาบาลและผู้ช่วยพยาบาลที่ขึ้นปฏิบัติงานในแต่ละเวรนั้นมีความสำคัญ เพราะบุคลากรที่ขึ้นปฏิบัติงานจะได้รับทราบผู้ป่วยที่ตนเองต้องรับผิดชอบดูแลในแต่ละเวร รวมทั้งหน้าที่อื่นที่ต้องรับผิดชอบ ซึ่งหอผู้ป่วยจิตเวชมีกิจกรรมอื่นที่ต้องรับผิดชอบควบคู่ไปกับการดุแลผู้ป่วยในแต่ละเวร จึงจำเป็นต้องมีการจ่ายงานที่ชัดเจน แต่ที่ผ่านมาพบปัญหาว่า ตั้งแต่ปี 2560 หลังปรับปรุงหอผู้ป่วยมีการเพิ่มจำนวนเตียงของผู้ป่วยจาก 19 เตียง เป็น 22 เตียง จึงมีการปรับอัตรากำลังเพิ่ม ทำให้กระดานจ่ายงานเดิมที่เคยทำไว้ต้องปรับเพิ่มช่อง จึงทำให้ช่องแคบลง เมื่อจ่ายงานเสร็จแล้วดูลำบาก ทำให้เจ้าหน้าที่ที่ขึ้นปฏิบัติงานดูผิดพลาดบ่อยครั้ง ใบจ่ายงานเดิมจะไม่ได้แยกส่วนของพยาบาลและผู้ช่วยพยาบาลทำให้ผู้จ่ายงานจ่ายงานผิดพลาดและผู้ที่ขึ้นปฏิบัติงานดูผู้ป่วยที่จะรับผิดชอบผิดพลาด จำนวนกิจกรรมที่ต้องรับผิดชอบในแต่ละเวรมีหลายกิจกรรม แต่แบ่งแจกงานไว้ในหลายช่อง จึงทำให้เกิดความสับสนและลืมปฏิบัติ กิจกรรมบางกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติลดลง เช่น จำนวนกลุ่มกิจกรรมลดลง การปิด-เปิดห้องไม่มี เนื่องจากหลังปรับปรุงหอผู้ป่วยห้องของผู้ป่วยไม่มีระบบล็อกประตูเพื่อป้องกันผู้ป่วยขังตนเองในห้อง วัตถุประสงค์ในการดำเนินการครั้งนี้ เพื่อให้พยาบาลสามารถจ่ายงานได้อย่างครอบคลุมและครบถ้วน เพื่อให้ผู้ที่ขึ้นปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างครบถ้วน เป้าหมาย/ตัวชี้วัด จำนวนครั้งของความผิดพลาดในการจ่ายงานลดลง จำนวนครั้งของการปฏิบัติงานไม่ครบถ้วนตามที่ได้รับมอบหมายลดลง   สภาพการทำงานใหม่ /วิธีการทำงานใหม่ ดำเนินการสำรวจปัญหาที่เกิดขึ้นและความต้องการของผู้ใช้งาน แล้วนำมาดำเนินการปรับปรุงใหม่ โดยมีการจัดกลุ่มแยกออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อให้มองเห็นชัดเจนและสะดวกต่อการใช้งาน ได้แก่ ส่วนของพยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล และกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติในแต่ละเวร ชี้แจงให้ผู้ปฏิบัติรับทราบ นำไปทดลองใช้งานและนำมาปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่ยังไม่ครอบคลุมอีกครั้ง แล้วจึงนำไปใช้งานจริง ใบจ่ายงานเดิมก่อนปรับปรุง ใบจ่ายงานปรับปรุงใหม่     3. ผลที่ได้จากการปรับปรุง/ ผลลัพธ์ (Check :ตรวจสอบผลลัพธ์) ภายหลังการนำใบจ่ายงานที่ปรับปรุงใหม่มาใช้งานเป็นระยะเวลา 2 เดือน ตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน 2562 พบว่า จำนวนครั้งของการจ่ายงานผิดพลาด ไม่ครบถ้วนลดลง จากเดิม 10-12 ครั้งต่อเดือน เหลือ 1-2 ครั้งต่อเดือน และยังลดเวลาที่พยาบาลต้องมาจ่ายงานเพิ่มเติมหรือแก้ไขการจ่ายงานที่ผิดพลาดลงอีกด้วย จำนวนครั้งของการปฏิบัติงานไม่ครบถ้วนตามที่ได้รับมอบหมายลดลง จากเดิม 8-10 ครั้งต่อเดือน เหลือ 2-3 ครั้งต่อเดือน ผู้ใช้งานมีความพึงพอใจการใช้งานใบจ่ายงานที่ปรับปรุงใหม่ในเรื่องของความสะดวกและง่ายต่อการใช้งาน ร้อยละ 100 4. การจัดทำมาตรฐาน (Act ) (โปรดระบุ)  ยังไม่ได้จัดทำมาตรฐานการทำงาน(WI) / มาตรฐานการใช้งาน  มีการจัดทำมาตรฐาน/มาตรฐานการใช้งาน 5.หลังเสร็จสิ้นโครงการท่านดำเนินการในการขยายผล อย่างไร (โปรดระบุ)  ใช้เฉพาะตนเองเท่านั้น  ใช้เฉพาะในหน่วยงานของท่าน  ใช้ในหน่วยงานอื่นภายในคณะฯ (ระบุชื่อหน่วยงานที่นำไปขยายผล .....................................)