กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1 5 ข. กฎหรือข้อบังคับที่รัฐต้อง ปฏิบัติตาม ค. กฎเกณฑ์ควบคุมความ ประพฤติของบุคคล ง. กฎเกณฑ์ทางสังคม.
ฝ่ายนิติการ. แผนภูมิสถิติการปฏิบัติงาน ฝ่ายนิติการ กองวิชาการและ แผนงาน.
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
จรรยาบรรณ ทางวิชาชีพและ เชิงสังคม อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อ การพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม. มหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อ.
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจการแบ่งประเภท และการระบุโทษของการ กระทำความผิดแต่ละประเภท 2.
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการติดตาม ดูแลพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนตามกระบวนการยุติธรรม เชิงสมานฉันท์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้วิจัย กนกวรรณ ตั้งจิตบำรุง หลักสูตร.
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
“ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่”
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การคุ้มครองพยานในคดีอาญา ตาม พรบ.คุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
โดยอาจารย์ฐิติพร วัฒนชัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
การอำนวยความเป็นธรรม ในหน้าที่ของฝ่ายปกครอง
พงษ์เดช วานิชกิตติกูล
การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice)
พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สิทธิมนุษยชน.
วิชากฎหมายปกครอง บรรยายโดย ดร.ภัทรวิทย์ อยู่วัฒนะ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กระบวนงานการให้บริการ
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
พระราชบัญญัติ วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
โดย อ.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
หลักธรรมาภิบาล ความหมายของธรรมาภิบาล
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
เนื่องจากข้าราชการและลูกจ้างของสำนักงานสรรพสามิต พื้นที่ และพื้นที่สาขา บางคนยังไม่ยังรู้และไม่เข้าใจในการ ใช้งานระบบผู้กระทำผิดกฎหมายสรรพสามิต ประกอบกับเจ้าหน้าที่กรมสรรพสามิต.
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
การป้องปรามการละเมิด ทรัพย์สินทางปัญญา
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
การสืบสวนและการสอบสวน
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
การพยาบาลนิติจิตเวช โดย อ. นิตยา ศรีจำนง.
อภิรัฐธรรมนูญไทย.
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ทบทวน ;) จริยธรรมนักกฎหมายต่างจากจริยธรรมทั่วไปอย่างไร?
อำนาจสืบสวน สอบสวน (มาตรา 17-21)
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
การดำเนินคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ ในศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐
PPA 1106 สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
หุ้นส่วนและบริษัท การเป็นหุ้นส่วน คือ การทำสัญญาระหว่างบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อทำกิจการร่วมกัน โดยประสงค์จะแบ่งปันผลกำไรที่จะพึงได้จากกิจการนั้น.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons)
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
วิชาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
วิชากฎหมายล้มละลาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา

คำถามเบื้องต้น คำถาม กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา คืออะไร? กฎหมายอาญา VS กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายสารบัญญัติ VS กฎหมายวิธีสบัญญัติ กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง VS กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

รายละเอียด/ วิธีการ/ ขั้นตอน ในการดำเนินคดีอาญา ตัวอย่าง มาตรา 11 มาตรา 12 - 13 มาตรา 53 มาตรา 55 – 55/1 มาตรา 155/1 มาตรา 184 ม.2(19) ม.2(20)

หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา Due Process Crime Control หลักประกันสิทธิเสรีภาพ อำนาจรัฐในการนำตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษ

หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา สอบสวน ชั้นศาล พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ ม.2(11) ม.120 ม.28 ผู้พิพากษา

หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา รธน 60 มาตรา 28 บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย การจับและการคุมขังบุคคลจะกระทํามิได้ เว้นแต่มีคําสั่งหรือหมายของศาลหรือมีเหตุอย่างอื่น ตามที่กฎหมายบัญญัติ การค้นตัวบุคคลหรือการกระทําใดอันกระทบกระเทือนต่อสิทธิหรือเสรีภาพในชีวิตหรือ ร่างกาย จะกระทํามิได้ เว้นแต่มีเหตุตามที่กฎหมายบัญญัติ ป.วิ.อ. มาตรา 78, 93

หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา รธน 60 มาตรา 33 บุคคลย่อมมีเสรีภาพในเคหสถาน การเข้าไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของผู้ครอบครอง หรือการค้นเคหสถาน หรือที่รโหฐานจะกระทํามิได้ เว้นแต่มีคําสั่งหรือหมายของศาลหรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่ กฎหมายบัญญัติ รธน 60 มาตรา 25 วรรคท้าย บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพ หรือจากการกระทําความผิดอาญาของบุคคลอื่น ย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเยียวยาหรือช่วยเหลือ จากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ ป.วิ.อ. มาตรา 92 พ.ร.บ. ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544

หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา รธน 60 มาตรา 68 วรรคแรก รัฐพึงจัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรมทุกด้านให้มี ประสิทธิภาพเป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ และให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้ โดยสะดวก รวดเร็วและไม่เสียค่าใช้จ่ายสูงเกินสมควร รธน 60 มาตรา 68 วรรคสาม รัฐพึงให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายที่จําเป็นและเหมาะสมแก่ผู้ ยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม รวมตลอดถึงการจัดหาทนายความให้ ป.วิ.อ. มาตรา 134, 130, 8 ป.วิ.อ. มาตรา 7/1, 134/1, 173

หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา รธน 60 มาตรา 29 วรรค 2 ในคดีอาญา ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจําเลยไม่มี ความผิด และก่อนมีคําพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระทําความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคล นั้นเสมือนเป็นผู้กระทําความผิดมิได้ รธน 60 มาตรา 29 วรรค 4 ในคดีอาญา จะบังคับให้บุคคลให้การเป็นปฏิปักษ์ต่อตนเองมิได้ ป.วิ.อ. มาตรา 226/2, 227 ป.วิ.อ. มาตรา 134/4, 232, 234

หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา สิทธิในการมีล่าม (มาตรา 13) สิทธิของเด็กในคดีอาญา (มาตรา 133ทวิ, 133ตรี, 134/2) สิทธิของพยานในคดีอาญา (มาตรา 133, 172) สิทธิของผู้เสียหายในคดีอาญา (มาตรา 146, 132, 226/4) สิทธิที่จะไม่ได้รับความเดือนร้อนซ้ำสองสำหรับการกระทำครั้ง เดียว [Non bis in idem] [Double Jeopardy] (มาตรา 147)

หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา สิทธิในการต่อสู้คดีได้อย่างเต็มที่ การพิจารณาคดีเปิดเผยและต่อหน้าจำเลย (มาตรา 172) การงดการดำเนินคดีชั่วคราวกรณีจำเลยวิกลจริต (มาตรา 14) การได้รับแจ้งข้อกล่าวหาและสิทธิของผู้ต้องหา (มาตรา 83) ความบริสุทธิ์ของการได้มาซึ่งพยานหลักฐาน (มาตรา 135, 133) การพิจารณาคดีโดยระบบไต่สวน (มาตรา 228)

หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (A) การสอบสวนไม่ชอบด้วยกฎหมาย ถือว่าไม่ได้มีการสอบสวน การดำเนินคดีเสียไปทั้งหมด (B) มาตรา 226 พยานหลักฐานรับฟังไม่ได้ (B1) Fruit of the poisonous tree “ผลไม้ของต้นไม้ที่เป็นพิษ” (B2) บทยกเว้นตามมาตรา 226/1

หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา Due process Crime control หลักประกันสิทธิเสรีภาพ อำนาจรัฐในการนำตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษ

ขั้นตอนการดำเนินคดีอาญา สอบสวน ชั้นศาล พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ ม.2(11) ม.120 ม.28 ผู้พิพากษา

บุคคลและองค์กรในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ผู้กระทำความผิด ผู้เสียหาย ทนายความ เจ้าพนักงานของรัฐ ศาล ผู้ต้องหา (ม.2(2)) จำเลย (ม.2(3)) พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ (ม.2(16)) พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ เจ้าพนักงานเรือนจำ นักจิตวิทยาและนักสังคมสงเคราะห์ ศาลยุติธรรม (องค์กร) ผู้พิพากษา

ขั้นตอนการดำเนินคดีอาญา การดำเนินคดีอาญาโดยรัฐ พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน ความผิดเกิด สอบสวน ชั้นศาล การดำเนินคดีอาญาโดยผู้เสียหาย ผู้พิพากษา ผู้เสียหายดำเนินการรวบรวมพยานหลักฐานและฟ้องคดีด้วยตนเองได้ (ม.28, ม.34) ไต่สวนมูลฟ้อง (ม.162 (1), ม.2(12))

ขั้นตอนการดำเนินคดีอาญา: การดำเนินคดีอาญาโดยรัฐ คดีความผิดอาญาแผ่นดิน พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน ความผิดเกิด สอบสวน ชั้นศาล ผู้พิพากษา

ขั้นตอนการดำเนินคดีอาญา: การดำเนินคดีอาญาโดยรัฐ คดีความผิดต่อส่วนตัว พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน ความผิดเกิด สอบสวน ชั้นศาล ผู้พิพากษา การดำเนินคดีอาญาระงับเมื่อผู้เสียหายถอนคำร้องทุกข์ หรือยอมความ (ม.39(2)) เริ่มดำเนินคดีได้เมื่อ มีการร้องทุกข์โดยผู้เสียหาย (ม.121 ว.2) ม.2(7) ม.126 ว.2