งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่”
สำนักงานศาลปกครอง

2 สำนักวิจัยและวิชาการ

3 การกระทำของฝ่ายปกครอง
การกระทำทั่วไป การกระทำทางปกครอง ปฏิบัติการทางปกครอง การกระทำฝ่ายเดียว การวินิจฉัยข้อพิพาท การกระทำสองฝ่าย กฎ คำสั่งทางปกครอง สัญญาทางปกครอง โดยกฎหมาย โดยเนื้อหา สำนักวิจัยและวิชาการ

4 ละเมิดทางแพ่ง ตาม มาตรา ๔๒๐ ปพพ.
ผู้ใดกระทำการใด โดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมาย ให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใด ผู้ทำละเมิดต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน สำนักวิจัยและวิชาการ

5 ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ ตาม มาตรา ๗๖ ปพพ.
ความรับผิดของเจ้าหน้าที่ ตาม มาตรา ๗๖ ปพพ. ผู้แทน/ผู้มีอำนาจทำการแทนนิติบุคคล กระทำตามหน้าที่ เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น นิติบุคคลนั้นต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมฯ นิติบุคคลมีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ผู้ก่อความเสียหาย หากเกิดจากการกระทำนอกขอบวัตถุประสงค์/อำนาจ หน้าที่ของนิติบุคคล ผู้ที่เห็นชอบหรือผู้กระทำต้องร่วม รับผิดชดใช้ค่าสินไหมฯแก่ผู้เสียหายด้วย สำนักวิจัยและวิชาการ

6 ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ตามหลักกฎหมายแพ่ง
เจ้าหน้าที่ผู้ทำละเมิดต้องรับผิดเป็นส่วนตัว หน่วยงานของรัฐร่วมรับผิด แล้วไล่เบี้ยจากเจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ร่วมกันกระทำผิดต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วม สำนักวิจัยและวิชาการ

7 เหตุผลในการตรากฎหมาย
เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของตนเอง เมื่อเกิดความเสียหาย นำ ปพพ.มาใช้บังคับ ไม่เหมาะสม บางกรณีเจ้าหน้าที่ที่อาจกระทำโดยไม่ตั้งใจ หรือผิดพลาดเล็กน้อย หลักลูกหนี้ร่วม ทำให้ต้องรับผิดในการกระทำของเจ้าหน้าที่อื่นด้วย เจ้าหน้าที่ไม่กล้าตัดสินใจเพราะเกรงต้องรับผิด บั่นทอนขวัญกำลังใจ มีวิธีการบริหารงานบุคคลและวินัยควบคุมอยู่ ทำให้มีความรอบคอบ กฎหมายนี้ มุ่งคุ้มครองเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสุจริต และใช้ความระมัดระวังตามสมควร สำนักวิจัยและวิชาการ

8 สำนักวิจัยและวิชาการ
ภาพรวมของกฎหมาย ม. ๔ ความหมาย (เจ้าหน้าที่ และ หน่วยงานของรัฐ) ม. ๕ การกระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอกอันเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ม. ๖ การกระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอกที่ไม่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ม. ๗ หน่วยงาน/เจ้าหน้าที่ มีสิทธิขอให้ศาลเรียกอีกฝ่ายหนึ่งเข้ามาในคดีได้ ม. ๘ สิทธิไล่เบี้ยของหน่วยงาน (จงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง) ม. ๙ อายุความใช้สิทธิไล่เบี้ย ม. ๑๐ การกระทำละเมิดต่อหน่วยงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ และไม่ได้เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ม. ๑๑ ผู้เสียหายเรียกให้หน่วยงานพิจารณาชดใช้ค่าเสียหาย (ต้องออกใบรับให้) ม. ๑๒ หน่วยงานออกคำสั่งเรียกให้เจ้าหน้าที่ชำระเงินค่าสินไหมฯ ม. ๑๓ ให้ ครม.มีอำนาจออกระเบียบให้เจ้าหน้าที่รับผิด ผ่อนชำระ ม. ๑๔ จัดตั้ง “ศาลปกครอง” สิทธิร้องทุกข์ ครท. (ม. 11) ให้ถือเป็นสิทธิฟ้องคดี สำนักวิจัยและวิชาการ

9 สำนักวิจัยและวิชาการ
คำสำคัญ หน่วยงานของรัฐ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ ราชการส่วนกลาง กระทรวง ทบวง กรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น จัดตั้งโดย พ.ร.บ. จัดตั้งโดย พ.ร.ฎ. ที่มี พ.ร.ฎ กำหนด ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง เจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานอื่น ในฐานะกรรมการ ในฐานะอื่น สำนักวิจัยและวิชาการ

10 การกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่ กระทำต่อหน่วยงานของรัฐ
กระทำต่อบุคคลภายนอก กระทำต่อหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานของรัฐที่ผู้นั้นสังกัด หน่วยงานของรัฐอื่น ละเมิดต่อหน่วยงานเดียว ละเมิดต่อหน่วยงานหลายหน่วย สำนักวิจัยและวิชาการ

11 การกระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก มิใช่การปฏิบัติหน้าที่
หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อ ผู้เสียหาย ฟ้องหน่วยงานของรัฐได้โดยตรง ฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้ เจ้าหน้าที่ไม่ได้สังกัดหน่วยงานใด กระทรวงการคลังต้องรับผิด เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดต่อผู้เสียหายเป็นส่วนตัว ฟ้องเจ้าหน้าที่โดยตรง ฟ้องหน่วยงานของรัฐไม่ได้ สำนักวิจัยและวิชาการ

12 เจ้าหน้าที่การกระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก ในการปฏิบัติหน้าที่
ผู้เสียหายดำเนินการได้ ๒ ทาง ยื่นคำขอต่อหน่วยงาน ยื่นฟ้องต่อศาล ม. ๑๑ ศาลปกครอง ศาลยุติธรรม แล้วแต่กรณี สำนักวิจัยและวิชาการ

13 ผู้เสียหายยื่นขอค่าเสียหายต่อหน่วยงานของรัฐ
ผู้เสียหายยื่นคำขอต่อหน่วยงานให้พิจารณาชดใช้ค่าเสียหายได้ หน่วยงานต้องออกใบรับคำขอไว้ให้เป็นหลักฐาน พิจารณาโดยไม่ชักช้า (เสร็จใน 180 วัน ขอขยายต่อ รมต. อีกไม่เกิน 180 วัน) หน่วยงานมี “คำสั่ง” แล้ว ไม่พอใจมีสิทธิร้องทุกข์ ครท. ภายใน 90 วันนับแต่ได้รับแจ้งผล (ไม่ต้องอุทธรณ์ก่อน) จัดตั้งศาลปกครอง ถือเป็นสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ

14 การฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายต่อศาล
ศาลปกครอง ศาลยุติธรรม ละเมิดที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ละเมิดเกิดจาก ๔ กรณี การใช้อำนาจตามกฎหมาย (เฉพาะกฎหมายปกครอง) กฎ คำสั่งทางปกครอง หรือคำสั่งอื่น ละเลยต่อหน้าที่ที่กฎหมายกำหนด ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า ละเมิดที่ไม่ได้เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ (เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว) ละเมิดที่เป็นการปฏิบัติหน้าที่ แต่มิใช่เกิดจาก การใช้อำนาจตามกฎหมาย การออกกฎ คำสั่งทางปกครอง คำสั่งอื่น การละเลยต่อหน้าที่ หรือ การปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า สำนักวิจัยและวิชาการ

15 สำนักวิจัยและวิชาการ
กรณีฟ้องผิดตัว ผู้เสียหายฟ้องหน่วยงานของรัฐ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หากผู้ถูกฟ้องคดีเห็นว่าอีกฝ่ายต้องรับผิดหรือร่วมรับผิด มีสิทธิขอให้ศาลเรียกอีกฝ่ายมาในคดีได้ หากศาลยกฟ้องเพราะฟ้องผิดตัว ให้ขยายอายุความฟ้องร้อง ผู้ที่ต้องรับผิดออกไปถึง 6 เดือนนับแต่วันที่คำพิพากษาถึงที่สุด สำนักวิจัยและวิชาการ

16 สิทธิไล่เบี้ยเอากับเจ้าหน้าที่ กรณีหน่วยงานของรัฐรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหาย
ไม่จงใจ หรือประมาทเลินเล่อธรรมดา จงใจ หรือประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง เป็นพับกับหน่วยงานของรัฐ เรียกเอากับเจ้าหน้าที่ ไม่ใช้หลักลูกหนี้ร่วม บางส่วน ผ่อนชำระได้ เต็มจำนวน ไม่เต็มจำนวน ตามระดับความร้ายแรง ความเป็นธรรมแต่ละกรณี หักส่วนความรับผิด กรณีความบกพร่องของหน่วยงานหรือระบบการดำเนินงานส่วนรวม สำนักวิจัยและวิชาการ

17 แผนผังความรับผิดของเจ้าหน้าที่
กระทำละเมิด บุคคลภายนอก ขอค่าเสียหาย /ฟ้อง บุคคลภายนอก หน่วยงาน ชำระค่าสินไหมฯ ไล่เบี้ยจากเจ้าหน้ าที่ได้เฉพาะกรณีจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หน่วยงาน เจ้าหน้าที่ สำนักวิจัยและวิชาการ

18 อายุความเรียกร้องค่าสินไหมฯ
กรณีหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่ใช้ค่าสินไหมฯแก่ผู้เสียหาย สิทธิเรียกให้อีกฝ่ายชดใช้ค่าสินไหมฯแก่ตน อายุความ 1 ปี นับแต่ได้ใช้ค่าสินไหมแก่ผู้เสียหาย สำนักวิจัยและวิชาการ

19 เจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
ไม่ใช่ปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ ฟ้องเจ้าหน้าที่ รับผิดส่วนตัว ไม่ใช้อำนาจตามกฎหมาย ใช้อำนาจตามกฎหมาย ฟ้องหน่วยงาน ร้องขอต่อหน่วยงาน ใช้อำนาจตามกฎหมายอื่น ใช้อำนาจตามกฎหมายปกครอง ศาลยุติธรรม ศาลยุติธรรม มีคำสั่ง ภายใน วัน ฟ้องหน่วยงาน ร้องขอต่อหน่วยงาน 1 ปี หรือ 10 ปี ป. แพ่ง ม. 448 1 ปี หรือ 10 ปี ป. แพ่ง ม. 448 มีคำสั่ง ภายใน วัน พอใจ ไม่พอใจ ศาลปกครอง ฟ้องศาลยุติธรรม ฟ้องศาลปกครอง 1 ปี หรือ 10 ปี กม.จัดตั้งศาลฯ ม. 51 พอใจ ไม่พอใจ ภายใน 90 วัน กม.จัดตั้งศาลฯ ม. 49 ฟ้องศาลปกครอง * กฎหมายอื่น = ป.อาญา, ป.วิ.อาญา ป.แพ่ง, ป.วิ.แพ่ง * กรณีหน่วยงานชดใช้ค่าเสียหายแล้ว ไล่เบี้ยเจ้าหน้าที่ได้ ถ้าเจ้าหน้าที่จงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ภายใน 90 วัน กม.จัดตั้งศาลฯ ม. 49

20 การกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานที่ผู้นั้นสังกัด
หน่วยงานของรัฐอื่น สำนักวิจัยและวิชาการ

21 ขั้นตอนการดำเนินการหาผู้รับผิดชอบทางแพ่ง
แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด รวบรวมหลักฐานและให้ผู้เกี่ยวข้องชี้แจง คณะกรรมการเสนอความเห็นไปยังผู้แต่งตั้ง วินิจฉัยว่ามีผู้รับผิดหรือไม่ เท่าใด แต่ยังไม่แจ้งเจ้าหน้าที่ ส่งสำนวนให้กระทรวงการคลังตรวจสอบและพิจารณา ออกคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ตามความเห็นของกระทรวงการคลัง แจ้งคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ พร้อมสิทธิฟ้องคดีและอายุความฟ้องคดี สำนักวิจัยและวิชาการ

22 การกระทำละเมิดต่อหน่วยงานเกิดจาก มิใช่การปฏิบัติหน้าที่
การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ให้นำมาตรา ๘ มาใช้บังคับโดยอนุโลม เรียกค่าสินไหมฯ ได้เฉพาะกรณีเป็นการจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเท่านั้น ให้บังคับตาม ปพพ. สำนักวิจัยและวิชาการ

23 เจ้าหน้าที่กระทำละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่ต่อหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานของรัฐเรียกค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ ไม่จงใจ หรือประมาทเลินเล่อธรรมดา จงใจ หรือประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง เป็นพับกับหน่วยงานของรัฐ เรียกเอากับเจ้าหน้าที่ เรียกจากเจ้าหน้าที่ไม่ได้ ไม่ใช้หลักลูกหนี้ร่วม บางส่วน ผ่อนชำระได้ เต็มจำนวน ไม่เต็มจำนวน ตามระดับความร้ายแรง ความเป็นธรรมแต่ละกรณี หักส่วนความรับผิด กรณีความบกพร่องของหน่วยงานหรือระบบการดำเนินงานส่วนรวม สำนักวิจัยและวิชาการ

24 สำนักวิจัยและวิชาการ
อายุความเรียกร้องค่าสินไหมฯจากเจ้าหน้าที่ กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อหน่วยงานฯ ทั้งกรณีเป็น “การปฏิบัติหน้าที่” และ “มิใช่การปฏิบัติหน้าที่” อายุความเรียกร้อง ๒ ปี นับแต่วันที่ “รู้ถึงการละเมิด” และ “รู้ตัวเจ้าหน้าที่” หากหน่วยงานเห็นว่าเจ้าหน้าที่ไม่ต้องรับผิด แต่กระทรวงการคลังเห็นว่าต้องรับผิด ให้อายุความเรียกร้อง ๑ ปี นับแต่หน่วยงานมีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง สำนักวิจัยและวิชาการ

25 สำนักวิจัยและวิชาการ
อายุความเรียกร้องค่าสินไหมฯจากเจ้าหน้าที่ กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อหน่วยงานฯ ทั้งกรณีเป็นการกระทำละเมิดจาก “การปฏิบัติหน้าที่” และ “มิใช่การปฏิบัติหน้าที่” ๒ ปี ๑ ปี นับแต่วันที่ “รู้ถึงการละเมิด” และ “รู้ตัวเจ้าหน้าที่” นับแต่วันที่หน่วยงานมีคำสั่งตามความเห็นของ กค. กรณีหน่วยงานเห็นว่าเจ้าหน้าที่ไม่ต้องรับผิด แต่ กค. เห็นว่า ต้องรับผิด สำนักวิจัยและวิชาการ

26 เจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ
แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนความผิดฯ เนื่องจาก เชื่อว่าเกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ แจ้งกระทรวงการคลัง มีคำสั่งตามความเห็น ของกระทรวงการคลัง คำสั่งทางปกครอง ๙ (๓) ไม่ใช่ปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ ไม่ใช่ ๙(๓) แจ้งให้ชดใช้ ไม่จงใจ/ประมาทเลินเล่อธรรมดา จงใจ/ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ไม่ชดใช้ เป็นพับแก่หน่วยงาน ออกคำสั่งเรียกให้เจ้าหน้าที่ชำระ ค่าสินไหมทดแทน ฟ้องศาลยุติธรรม ภายใน 2 ปี หรือ 1 ปี กม.ละเมิด ม.10 ว. 2 ไม่ชดใช้ ใช้มาตรการบังคับทางปกครอง ตามมาตรา ๕๕-๕๗ วิ ปฏิบัติได้

27 หน่วยงานออกคำสั่งเรียกให้เจ้าหน้าที่ ชำระเงินค่าสินไหมทดแทน (ม. ๑๒)
หน่วยงานออกคำสั่งเรียกให้เจ้าหน้าที่ ชำระเงินค่าสินไหมทดแทน (ม. ๑๒) เจ้าหน้าที่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่หน่วยงาน กรณีหน่วยงานชดใช้ค่าสินไหมให้ผู้เสียหาย กรณีกระทำละเมิดต่อหน่วยงาน หน่วยงานที่เสียหายมีอำนาจออก “คำสั่ง” เรียกให้ เจ้าหน้าที่ชำระเงินภายในกำหนดเวลาได้ สำนักวิจัยและวิชาการ

28 การบังคับทางปกครองตามกฎหมาย วิ.ปฎิบัติฯ
คำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ผู้ใดชำระเงิน ถึงกำหนดแล้วไม่ชำระ ให้เจ้าหน้าที่มีหนังสือเตือนให้ชำระภายในเวลาที่กำหนด แต่ต้องไม่น้อยกว่า ๗ วัน ถ้าไม่ปฏิบัติตามคำเตือน เจ้าหน้าที่ใช้มาตรการบังคับทางปกครองโดย “ยึด อายัดทรัพย์สินของผู้นั้นและขายทอดตลาดเพื่อชำระเงินให้ครบถ้วน” การยึด อายัด และขายทอดตลาดฯ ปฏิบัติตาม ป วิ.แพ่ง โดยอนุโลม การบังคับทางปกครองไม่ใช้กับเจ้าหน้าที่ด้วยกัน เว้นแต่จะมีกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น สำนักวิจัยและวิชาการ

29 สรุปกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
1. แยกความรับผิดอันเกิดจาก “การปฏิบัติหน้าที่ & ไม่ใช่การปฏิบัติหน้าที่” 2. แยกความรับผิดของหน่วยงาน & เจ้าหน้าที่ 3. สิทธิไล่เบี้ย เฉพาะกรณีจงใจ-ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง 4. การไล่เบี้ย คำนึงถึงระดับความร้ายแรง-ความบกพร่องของหน่วยงาน 5. ไม่นำหลัก “ลูกหนี้ร่วม” มาใช้บังคับ 6. กำหนดเรื่อง “อายุความ” แตกต่างจาก ปพพ. 7. หน่วยงานใช้ “มาตรการบังคับทางปกครอง” ได้เอง สำนักวิจัยและวิชาการ

30 การฟ้องคดีต่อศาลปกครอง และความสัมพันธ์กับกฎหมายปกครองอื่น
สำนักวิจัยและวิชาการ

31 การฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายต่อศาล
ศาลปกครอง ศาลยุติธรรม ละเมิดที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ละเมิดเกิดจาก ๔ กรณี การใช้อำนาจตามกฎหมาย (เฉพาะกฎหมายปกครอง) กฎ คำสั่งทางปกครอง หรือคำสั่งอื่น ละเลยต่อหน้าที่ที่กฎหมายกำหนด ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า ละเมิดที่ไม่ได้เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ (เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว) ละเมิดที่เป็นการปฏิบัติหน้าที่ แต่มิใช่เกิดจาก การใช้อำนาจตามกฎหมาย การออกกฎ คำสั่งทางปกครอง คำสั่งอื่น การละเลยต่อหน้าที่ หรือ การปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า สำนักวิจัยและวิชาการ

32 การฟ้องคดีต่อศาลปกครองกรณีอื่น ๆ
การฟ้องเพิกถอนคำสั่งของหน่วยงาน ผู้เสียหายฟ้องเพิกถอนคำสั่งของหน่วยงาน กรณียื่นคำขอต่อหน่วยงานให้พิจารณาชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ตามมาตรา ๑๑ เจ้าหน้าที่ผู้กระทำละเมิดฟ้องเพิกถอนคำสั่งของหน่วยงานที่สั่งให้ตนชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ตามมาตรา ๑๒ การฟ้องว่าหน่วยงานละเลยต่อหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควร ไม่ออกใบรับคำขอให้ไว้เป็นหลักฐานตามมาตรา ๑๑ สำนักวิจัยและวิชาการ

33 กฎหมายจัดตั้งศาลปกครองที่เกี่ยวกับละเมิด
อำนาจศาลปกครอง เป็นคดีปกครอง เขตอำนาจศาล เงื่อนไขการฟ้องคดี ผู้มีสิทธิฟ้องคดี การดำเนินการตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนด ระยะเวลาการฟ้องคดี (๑ ปี นับแต่รู้หรือควรรู้เหตุ หรือ ๑๐ ปี นับแต่วันมีเหตุแห่งการฟ้องคดี (ม. ๕๑) ) เสียค่าธรรมเนียมศาล (ม. ๔๕) คำบังคับของศาลปกครอง การบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลปกครอง สำนักวิจัยและวิชาการ

34 ความสัมพันธ์กับกฎหมาย วิ.ปฏิบัติ
คำสั่งทางปกครอง เจ้าหน้าที่ คู่กรณี การพิจารณาทางปกครอง รูปแบบและผลของคำสั่งทางปกครอง การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง การเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง การขอให้พิจารณาใหม่ การบังคับทางปกครอง ระยะเวลา และอายุความ การแจ้ง คณะกรรมการ สำนักวิจัยและวิชาการ

35 ตัวอย่างคดีปกครอง เกี่ยวกับการกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่
สำนักวิจัยและวิชาการ

36 สำนักวิจัยและวิชาการ
สำนักงานศาลปกครอง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม หรือต้องการหนังสือ ตำรา คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลปกครอง ติดต่อได้ที่ :  สำนักงานศาลปกครอง เลขที่ ๑๒๐ หมู่ที่ ๓ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ โทร. ๐๒๑๔๑ ๑๑๑๑  โทรศัพท์สายด่วน “๑๓๕๕” สำนักวิจัยและวิชาการ


ดาวน์โหลด ppt “ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google