กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา
คำถามเบื้องต้น คำถาม กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา คืออะไร? กฎหมายอาญา VS กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายสารบัญญัติ VS กฎหมายวิธีสบัญญัติ กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง VS กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
รายละเอียด/ วิธีการ/ ขั้นตอน ในการดำเนินคดีอาญา ตัวอย่าง มาตรา 11 มาตรา 12 - 13 มาตรา 53 มาตรา 55 – 55/1 มาตรา 155/1 มาตรา 184 ม.2(19) ม.2(20)
หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา Due Process Crime Control หลักประกันสิทธิเสรีภาพ อำนาจรัฐในการนำตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษ
หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา สอบสวน ชั้นศาล พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ ม.2(11) ม.120 ม.28 ผู้พิพากษา
หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา รธน 60 มาตรา 28 บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย การจับและการคุมขังบุคคลจะกระทํามิได้ เว้นแต่มีคําสั่งหรือหมายของศาลหรือมีเหตุอย่างอื่น ตามที่กฎหมายบัญญัติ การค้นตัวบุคคลหรือการกระทําใดอันกระทบกระเทือนต่อสิทธิหรือเสรีภาพในชีวิตหรือ ร่างกาย จะกระทํามิได้ เว้นแต่มีเหตุตามที่กฎหมายบัญญัติ ป.วิ.อ. มาตรา 78, 93
หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา รธน 60 มาตรา 33 บุคคลย่อมมีเสรีภาพในเคหสถาน การเข้าไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของผู้ครอบครอง หรือการค้นเคหสถาน หรือที่รโหฐานจะกระทํามิได้ เว้นแต่มีคําสั่งหรือหมายของศาลหรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่ กฎหมายบัญญัติ รธน 60 มาตรา 25 วรรคท้าย บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพ หรือจากการกระทําความผิดอาญาของบุคคลอื่น ย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเยียวยาหรือช่วยเหลือ จากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ ป.วิ.อ. มาตรา 92 พ.ร.บ. ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544
หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา รธน 60 มาตรา 68 วรรคแรก รัฐพึงจัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรมทุกด้านให้มี ประสิทธิภาพเป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ และให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้ โดยสะดวก รวดเร็วและไม่เสียค่าใช้จ่ายสูงเกินสมควร รธน 60 มาตรา 68 วรรคสาม รัฐพึงให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายที่จําเป็นและเหมาะสมแก่ผู้ ยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาสในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม รวมตลอดถึงการจัดหาทนายความให้ ป.วิ.อ. มาตรา 134, 130, 8 ป.วิ.อ. มาตรา 7/1, 134/1, 173
หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา รธน 60 มาตรา 29 วรรค 2 ในคดีอาญา ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจําเลยไม่มี ความผิด และก่อนมีคําพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระทําความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคล นั้นเสมือนเป็นผู้กระทําความผิดมิได้ รธน 60 มาตรา 29 วรรค 4 ในคดีอาญา จะบังคับให้บุคคลให้การเป็นปฏิปักษ์ต่อตนเองมิได้ ป.วิ.อ. มาตรา 226/2, 227 ป.วิ.อ. มาตรา 134/4, 232, 234
หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา สิทธิในการมีล่าม (มาตรา 13) สิทธิของเด็กในคดีอาญา (มาตรา 133ทวิ, 133ตรี, 134/2) สิทธิของพยานในคดีอาญา (มาตรา 133, 172) สิทธิของผู้เสียหายในคดีอาญา (มาตรา 146, 132, 226/4) สิทธิที่จะไม่ได้รับความเดือนร้อนซ้ำสองสำหรับการกระทำครั้ง เดียว [Non bis in idem] [Double Jeopardy] (มาตรา 147)
หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา สิทธิในการต่อสู้คดีได้อย่างเต็มที่ การพิจารณาคดีเปิดเผยและต่อหน้าจำเลย (มาตรา 172) การงดการดำเนินคดีชั่วคราวกรณีจำเลยวิกลจริต (มาตรา 14) การได้รับแจ้งข้อกล่าวหาและสิทธิของผู้ต้องหา (มาตรา 83) ความบริสุทธิ์ของการได้มาซึ่งพยานหลักฐาน (มาตรา 135, 133) การพิจารณาคดีโดยระบบไต่สวน (มาตรา 228)
หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (A) การสอบสวนไม่ชอบด้วยกฎหมาย ถือว่าไม่ได้มีการสอบสวน การดำเนินคดีเสียไปทั้งหมด (B) มาตรา 226 พยานหลักฐานรับฟังไม่ได้ (B1) Fruit of the poisonous tree “ผลไม้ของต้นไม้ที่เป็นพิษ” (B2) บทยกเว้นตามมาตรา 226/1
หลักพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา Due process Crime control หลักประกันสิทธิเสรีภาพ อำนาจรัฐในการนำตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษ
ขั้นตอนการดำเนินคดีอาญา สอบสวน ชั้นศาล พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ ม.2(11) ม.120 ม.28 ผู้พิพากษา
บุคคลและองค์กรในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ผู้กระทำความผิด ผู้เสียหาย ทนายความ เจ้าพนักงานของรัฐ ศาล ผู้ต้องหา (ม.2(2)) จำเลย (ม.2(3)) พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ (ม.2(16)) พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ เจ้าพนักงานเรือนจำ นักจิตวิทยาและนักสังคมสงเคราะห์ ศาลยุติธรรม (องค์กร) ผู้พิพากษา
ขั้นตอนการดำเนินคดีอาญา การดำเนินคดีอาญาโดยรัฐ พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน ความผิดเกิด สอบสวน ชั้นศาล การดำเนินคดีอาญาโดยผู้เสียหาย ผู้พิพากษา ผู้เสียหายดำเนินการรวบรวมพยานหลักฐานและฟ้องคดีด้วยตนเองได้ (ม.28, ม.34) ไต่สวนมูลฟ้อง (ม.162 (1), ม.2(12))
ขั้นตอนการดำเนินคดีอาญา: การดำเนินคดีอาญาโดยรัฐ คดีความผิดอาญาแผ่นดิน พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน ความผิดเกิด สอบสวน ชั้นศาล ผู้พิพากษา
ขั้นตอนการดำเนินคดีอาญา: การดำเนินคดีอาญาโดยรัฐ คดีความผิดต่อส่วนตัว พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน ความผิดเกิด สอบสวน ชั้นศาล ผู้พิพากษา การดำเนินคดีอาญาระงับเมื่อผู้เสียหายถอนคำร้องทุกข์ หรือยอมความ (ม.39(2)) เริ่มดำเนินคดีได้เมื่อ มีการร้องทุกข์โดยผู้เสียหาย (ม.121 ว.2) ม.2(7) ม.126 ว.2