แนวทางการจัดส่งรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน ว่าด้วยมาตรการป้องกัน แก้ไข และ ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำหรับผู้ได้รับการยกเว้น.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4505 ( พ. ศ. 2556) ออกตามความใน พระราชบัญญัติมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
แนวทางการจัดทำรายงาน
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
1.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
EB7 หน่วยงานของท่านมีช่องทางให้. ประชาชน. เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
รายงานผลการดำเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการจัดส่งรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 จัดส่งรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม (EIA Monitoring) ของโรงงานอุตสาหกรรมที่เข้าข่ายต้องจัดทำรายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ให้สำนักงานนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรืออุตสาหกรรม ในฐานะหน่วยงานอนุญาต เพื่อดำเนินการรวบรวมส่งให้สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทสจ.)จ.ระยอง ภายใน 60 วันนับแต่วันที่ได้รับรายงาน (ตามมาตรา 51/5) โรงงานจัดส่ง EIA Monitoring - รายงาน 3 เล่ม - ซีดี 4 แผ่น IEE Monitoring - รายงาน 1 เล่ม - ซีดี 1 แผ่น *** ภายใน 60 วันนับแต่วันที่ได้รับรายงาน สำนักงานนิคมอุตสาหกรรม ท่าเรืออุตสาหกรรม ทสจ.จ.ระยอง * จัดส่งเล่มรายงานฯ ภายในวันที่ 31 มกราคมและวันที่ 31 กรกฎาคม ของทุกปี ** กรณีขอขยายเวลา จะต้องได้รับตราประทับจาก กนอ. หรือเซ็นต์รับภายในกำหนดเวลา

การรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกัน และแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2562 โครงการ................................................................ บริษัท...................................................................

ลำดับการนำเสนอ ส่วนหน้าของรายงาน บทนำ การดำเนินการปรับปรุงแก้ไข ชี้แจงเพิ่มเติม ตามข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ สรุปผลการปฏิบัติมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ช่วงดำเนินการ (ถ้าปฏิบัติครบถ้วน ไม่ต้องนำเสนอให้ข้ามไปที่ข้อ 5) สรุปผลการตรวจวัดตามมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม รายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหารจัดการความเสี่ยงตามรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (โรงงานที่เข้าข่ายรายงาน) การดำเนินการด้านชุมชนสัมพันธ์ (CSR)

1) ส่วนหน้าของรายงาน ประกอบด้วย ชื่อโครงการ เจ้าของโครงการ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้/สถานที่ตั้งโครงการ บริษัทที่ปรึกษาที่จัดทำรายงาน ลำดับการพิจารณาความเห็นชอบรายงาน EIA/IEE ของโครงการ

ตัวอย่าง: ส่วนหน้าของรายงาน

ตัวอย่าง: สรุปลำดับการพิจารณารายงาน EIA/IEE และรายงานการ ตัวอย่าง: สรุปลำดับการพิจารณารายงาน EIA/IEE และรายงานการ เปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการในรายงาน EIA/IEE ตัวอย่าง

2) บทนำ 2.1) รายละเอียดโครงการโดยสังเขป ได้แก่ ที่ตั้ง/ขนาดพื้นที่/พื้นที่ โดยรอบ ตัวอย่าง

2.2) แผนผังแสดงการจัดแบ่งพื้นที่การใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ ของ โครงการ (Lay Out) ตัวอย่าง ตัวอย่าง

ตัวอย่าง 2.3) รายละเอียดโครงการ 2.3.1) แผนผังกระบวนการผลิตของโรงงาน 2.3.1) แผนผังกระบวนการผลิตของโรงงาน : คำอธิบายกระบวนการผลิตต้องสอดคล้องกับ Flow Diagram ตัวอย่าง

ตัวอย่าง 2.3.2) วัตถุดิบและสารเคมี ชนิด/ปริมาณ/แหล่งที่มา การขนส่ง การเก็บกัก/ปริมาณ การป้องกันการหกรั่วไหล 2.3.3) ผลิตภัณฑ์และผลพลอยได้ (รายละเอียดเหมือนข้อ 2.3.2) ตัวอย่าง

3). การดำเนินการปรับปรุงแก้ไขชี้แจงเพิ่มเติม ตามข้อคิดเห็น/ 3) การดำเนินการปรับปรุงแก้ไขชี้แจงเพิ่มเติม ตามข้อคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ **ให้นำเสนอรายละเอียดของผลการดำเนินการปรับปรุงแก้ไข ตามข้อคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ จากการนำเสนอในครั้งที่ผ่านมา ตัวอย่าง

4) สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4) สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม นำเสนอข้อมูลโดยมีหัวข้อตามรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม ระหว่างเดือนมกราคม - ธันวาคม 2561 และเดือนมกราคม – มิถุนายน 2562 (ถ้ามี) โดยกำหนดองค์ประกอบทางสิ่งแวดล้อม ดังนี้ 1) คุณภาพอากาศ และการจัดการระบบบำบัดมลพิษอากาศ 2) ระดับเสียง 3) การติดตามตรวจสอบ และการจัดการสารอินทรีย์ระเหยง่าย 4) คุณภาพน้ำ และการจัดการด้านน้ำ 5) การระบายน้ำ 6) การจัดการด้านขยะและกากของเสีย 7) สภาพเศรษฐกิจและสังคม 8) สุนทรียภาพ 9) สาธารณสุข อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

4) สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ต่อ) 4) สรุปผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ต่อ) แนวทางการนำเสนอ : รายละเอียดการปฏิบัติจริง (หรือไม่ได้ปฏิบัติ) ปัญหา-อุปสรรค และการแก้ไข พร้อมแผนปฏิบัติการ (Action Plan) เพื่อแก้ไขหรือบรรเทาปัญหา (เอกสารอ้างอิง) ควรแสดงแผนภาพหรือภาพถ่ายการปฏิบัติตามมาตรการประกอบคำอธิบายเพื่อให้เกิดความชัดเจนยิ่งขึ้น ระบุมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่โครงการริเริ่มเพิ่มเติมขึ้นจากที่กำหนดไว้

ตัวอย่าง ตัวอย่าง: แผนภาพหรือภาพถ่ายการปฏิบัติตามมาตรการประกอบ ตัวอย่าง: แผนภาพหรือภาพถ่ายการปฏิบัติตามมาตรการประกอบ คำอธิบาย ตัวอย่าง ** ควรระบุ ว.ด.ป.ที่ภาพถ่าย

5) ผลการตรวจวัดตามแผนการตรวจติดตามคุณภาพสิ่งแวดล้อม แนวทางการนำเสนอ : นำเสนอผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมทุกพารามิเตอร์ที่กำหนดไว้ ในรายงาน EIA/IEE ต้องวิเคราะห์ผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมโดยพิจารณาแนวโน้มว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปจากผลการตรวจวัดครั้งที่ผ่านมาหรือไม่ อย่างไร โดยแสดงผลย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปี กรณีที่ค่าผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมใด มีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐาน หรือเกินค่าควบคุมที่กำหนดไว้ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่มีนัยสำคัญ โครงการต้องระบุสาเหตุกำกับไว้ใต้กราฟที่แสดงผลการตรวจวัดนั้นๆ ด้วย รวมถึงต้องระบุการแก้ไขปัญหา และเสนอแผนปฏิบัติการในการบรรเทาหรือแก้ไขปัญหา การวิเคราะห์ผลให้เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย ในกรณีที่รายงาน EIA/IEE ของโครงการ หากมีการกำหนดค่าควบคุมไว้เพื่อเฝ้าระวังให้แสดงค่าดังกล่าวกำกับไว้ด้วย ส่วนกรณีไม่มีค่ามาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย โครงการอาจนำเสนอผลการตรวจวัดโดยการเปรียบเทียบค่ามาตรฐานหรือค่าอ้างอิงของต่างประเทศ

ตัวอย่าง แนวทางการนำเสนอ (ต่อ) : การนำเสนอผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศควรแสดงผังทิศทางลมขณะตรวจวัดคุณภาพอากาศประกอบด้วย ตัวอย่าง

ตัวอย่าง แนวทางการนำเสนอ (ต่อ) : การนำเสนอการจัดการกากของเสีย ควรนำเสนอตารางสรุปข้อมูลปริมาณกากของเสีย ย้อนหลังต่อเนื่อง 3 ปี โดยแบ่งเป็นประเภท 1.กากของเสียอันตราย 2.กากของเสียไม่อันตราย และ 3.มูลฝอยทั่วไป ว่ามีอะไรบ้าง ปริมาณเท่าใด ส่งกำจัดที่ไหน วิธีการบำบัด/กำจัด ตัวอย่าง

ตัวอย่าง: กราฟแสดงการเปรียบเทียบการจัดการกากของเสีย ย้อนหลังต่อเนื่อง 3 ปี ตัวอย่าง

ตัวอย่าง: กราฟแสดงการเปรียบเทียบการจัดการกากของเสีย ย้อนหลังต่อเนื่อง 3 ปี ตัวอย่าง

ตัวอย่าง แนวทางการนำเสนอ (ต่อ) : ควรนำเสนอแผนผังเส้นทางการระบายน้ำของโรงงาน เช่น น้ำจากกระบวนการผลิต น้ำจากสำนักงาน หรือน้ำที่อาจปนเปื้อน ว่าเกิดจากตำแหน่งใด เส้นทางการไหล รวมถึงจุดระบายน้ำออกจากโรงงาน ตัวอย่าง

ตัวอย่าง แนวทางการนำเสนอ (ต่อ) : ควรนำเสนอผลการตรวจสุขภาพพนักงานย้อนหลังต่อเนื่อง 3 ปี เพื่อดูแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง กรณีที่ผลการตรวจสุขภาพพนักงานพบความผิดปกติที่มีนัยสำคัญ โครงการต้องวิเคราะห์หาสาเหตุ ระบุการแก้ไขปัญหา รวมถึงเสนอแผนในการบรรเทาหรือแก้ไขปัญหา ดูแล/ป้องกัน และเฝ้าระวังทางด้านสุขภาพของพนักงาน ตัวอย่าง

ตัวอย่าง

ให้สรุปรายละเอียดโครงการและการปฏิบัติตามมาตรการ ที่ยังไม่ได้ดำเนินการ หรือที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือแตกต่างไปจากที่เสนอไว้ ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และ/หรือ มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่อย่างมีนัยสำคัญ เช่น เปลี่ยนแปลงระบบบำบัดมลพิษ และเปลี่ยนแปลงประเภทเชื้อเพลิง เป็นต้น พร้อมทั้งระบุขั้นตอนหรือความก้าวหน้าของการดำเนินการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการดังกล่าว (ถ้ามี)

7) รายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหารจัดการความเสี่ยงตาม รายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตรายที่อาจเกิดจากการ ประกอบกิจการโรงงาน ** เป็นโรงงานที่เข้าข่ายต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงฯ ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 3 (พ.ศ.2542) และฉบับที่ 4 (พ.ศ.2552) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 เรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการดำเนินงาน ** ประกาศ กนอ. ที่ 62/2555 ลงวันที่ 24 กันยายน 2555 กำหนดให้โรงงานมีการนำเสนอผลการดำเนินงานตามแผนบริหารจัดการความเสี่ยงฯ ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมในนิคมอุตสาหกรรม (EIA Monitoring) ปีละ 1 ครั้ง ในปี 2562 โรงงานที่นำเสนอผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม (มาตรการตามรายงาน EIA/IEE) ในการประชุมคณะกรรมการฯ ให้นำเสนอสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารจัดการความเสี่ยงฯ เพิ่มเติมเข้าไปอีกส่วนหนึ่งด้วย

แนวทางการนำเสนอ : 1) รายละเอียดเกี่ยวกับรายงานวิเคราะห์ความเสี่ยงฯ ของโรงงาน โดยสรุป เช่น วันที่จัดส่งรายงานฉบับล่าสุดให้กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.)/ กนอ. วันที่แจ้งผลการพิจารณารายงานฉบับล่าสุดของ กรอ. ข้อเสนอแนะต่างๆ จาก กรอ. 2) ตารางสรุปภาพรวมแผนบริหารจัดการความเสี่ยงฯ ทั้งหมดของโรงงาน ดังนี้ แผนลดความเสี่ยง จำนวนกี่แผน แผนควบคุมความเสี่ยง จำนวนกี่แผน 3) คัดเลือกแผนลดหรือแผนควบคุมความเสี่ยงที่เป็นระดับ Top 3 จำนวน 3 แผนงานมานำเสนอ แผนลดความเสี่ยง แผนควบคุมความเสี่ยง แผนลดความเสี่ยง แผนควบคุมความเสี่ยง นำเสนอมาตรการ/ กิจกรรม ในการปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงานในเรื่องต่างๆ เพื่อลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้/ ผลการปฏิบัติ พร้อมรูป (ถ้ามี) นำเสนอมาตรการ/ กิจกรรม ในการควบคุม และตรวจสอบการดาเนินงาน เพื่อรักษาระดับความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ตลอดเวลา พร้อมรูป (ถ้ามี)

ตัวอย่าง

ระยะเวลาในการนำเสนอ หัวข้อ ระยะเวลา (นาที) บทนำ/ผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม/ ผลการตรวจวัดตามแผนการติดตามคุณภาพสิ่งแวดล้อม/ รายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหารจัดการความเสี่ยงตามรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 60 2) CSR และ PR 5 3) ถาม-ตอบ 25

การจัดเตรียมเอกสารประกอบการนำเสนอ สิ่งที่ต้องเตรียม จำนวน (ชุด) ไฟล์ PDF รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (รายงาน EIA/IEE ของโครงการ) 1 ไฟล์ PDF รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ระหว่างเดือน ก.ค.– ธ.ค. 2561 และเดือน ม.ค.- มิ.ย. 2562 (ถ้ามี) ไฟล์ PowerPoint หรือ PDF การนำเสนอรายงานฯ (Presentation) เอกสารประกอบการบรรยาย (Hand out) จำนวน 2 สไลด์ต่อ 1 หน้า สี 15 เอกสารสำเนาหนังสือเห็นชอบและเงื่อนไขตามมาตรการ EIA/ จาก สผ. 10