กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
SERVICE PLAN 59.
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
การบันทึกข้อมูลการคัดกรองโรคมะเร็ง
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
งาน Palliative care.
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
งานแม่และเด็ก เครือข่ายสุขภาพอำเภอกะปง
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
แนวคิด เป้าหมาย และแนวทางการขับเคลื่อนพัฒนาการดำเนินงานมะเร็ง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่

SPสาขามะเร็ง ตัวชี้วัดหลัก : ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมระยะที่ 1 และ 2 ≥ ร้อยละ 70 ตัวชี้วัดรอง 1.สตรีอายุ 30-70 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองร้อยละ 80 2.สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80 ภายใน 5 ปี (ปี2556-2560)

Template 1.ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้แก่ มะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ 2. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ 3. อัตราตายจากโรคมะเร็งปอด 4. การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม 5. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

งานมะเร็งจังหวัดเชียงใหม่ สถานการณ์ สถิติการรักษาของโรงพยาบาลนครพิงค์ ปี 2559 พบผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ 5 อันดับแรก 1. โรคมะเร็งปอด อัตรา20.99 ต่อแสนประชากร 2. มะเร็งเต้านม อัตรา 18.43 ต่อแสนประชากร 3. มะเร็งตับและท่อน้ำดีในตับ อัตรา16.11 ต่อแสนประชากร 4. มะเร็งปากมดลูก อัตรา 9.21 ต่อแสนประชากร 5. มะเร็งลำไส้ใหญ่ อัตรา8.66 ต่อแสนประชากร

จำนวนผู้ป่วยมะเร็งใหม่ จำแนกรายโรค 5 อันดับแรก ของจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2557 – 2559

งานมะเร็งจังหวัดเชียงใหม่ สถานการณ์ : อัตราตาย(ต่อแสนประชากร)ผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก โรค ปี2556 ปี2557 ปี2558 1.มะเร็งปอด 25.58 28.64 33.44 ตัวชี้วัด: อัตรา 18 ต่อแสนประชากร หรือ ลดลงร้อยละ 5 เปรียบเทียบกับปี 2556 2.มะเร็งตับและท่อน้ำดีในตับ 21.31 24.87 22.70 ตัวชี้วัด: อัตรา 23.5 ต่อแสนประชากร หรือ ลดลงร้อยละ 5 เปรียบเทียบกับปี 2556 3.กระเพาะอาหาร 5.42 6.52 7.63 4.มะเร็งเต้านม 4.76 4.24 6.47 5.มะเร็งลำไส้ 3.97 3.47 4.15

จำนวนผู้ป่วยมะเร็งเสียชีวิต 2557-2559 Hospital base (รพ.นครพิงค์)

ผลการดำเนินงาน - การผ่าตัดมะเร็งทุกชนิด < 4 สัปดาห์ ร้อยละ 80.00 (326/408 ราย) - การรักษาด้วยเคมีบำบัดมะเร็งทุกชนิด < 6 สัปดาห์ ร้อยละ85.54 (207/242 ราย) - การรักษาด้วยรังสีรักษามะเร็งทุกชนิด < 6 สัปดาห์ ร้อยละ 95.52 (118/121 ราย) - การคัดกรองพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ด้วย U/S จำนวน 5,607 ราย ผิดปกติ จำนวน 1,470 ราย ร้อยละ 26.51 สงสัย CCA จำนวน 23 ราย ร้อยละ 0.41 การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมครอบคลุม ร้อยละ 70.98 (HDC) การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ได้ ร้อยละ 57.70 (CXS2010) ร้อยละ 43.02 (HDC)

เป้าหมายการพัฒนา ปี 2560 และ ระยะ 5 ปี(ปี 2564) 1. พัฒนาระบบการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมป้องกัน โรคมะเร็ง 5 อันดับแรก ในวันสำคัญ 2. พัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม และมะเร็งปาก มดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมาย 3. พัฒนาระบบข้อมูลการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปาก มดลูก ให้ครบถ้วน ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน

เป้าหมายการพัฒนาในระดับอำเภอ ประเด็นที่กำกับติดตาม   ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-60 ปีภายใน 5 ปี (ปี2556-2560) 1.คัดกรองร้อยละ50 2.สตรีที่พบเซลล์ผิดปกติได้รับการส่งต่อวินิจฉัยรักษาโดยแพทย์ทุกราย 3.มีการบรรทุกในระบบข้อมูล 43 แฟ้ม/CXS2010 ทุกราย 1.คัดกรองร้อยละ60 2.สตรีที่พบเซลล์ผิดปกติได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทุกราย 3.มีการบรรทุกในระบบข้อมูล 43 แฟ้ม/CXS2010 ทุกราย 1.คัดกรองร้อยละ 70 2.สตรีที่พบเซลล์ผิดปกติได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทุกราย 3.มีการบรรทุกในระบบข้อมูล 43 แฟ้ม/CXS2010 ทุกราย 1.คัดกรองร้อยละ 80 2.สตรีที่พบเซลล์ผิดปกติได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทุกราย 3.มีการบรรทุกในระบบข้อมูล 43 แฟ้ม/CXS2010 ทุกราย 1.ทะเบียนการคัดกรอง 2.ระบบ 43 แฟ้ม /CXS2010 2. การคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีอายุ 30-70 ปี ด้วยตนเอง 1.คัดกรองร้อยละ 80 2.มีการบันทึกข้อมูลในโปรแกรมถันยรักษ์และระบบ 43 แฟ้มทุกราย 2.ระบบ 43 แฟ้ม /ถันยรักษ์

ประเด็นที่กำกับติดตาม   ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3.การคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-70 ปี ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม ร้อยละ 50 1.สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ30-70 ปี ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม ร้อยละ100 2.สตรีกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจโดยเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 100 สตรีที่จนท.ตรวจพบพบก้อนได้รับการส่งต่อพบแพทย์เพื่อทำU/S และ Mammogram ร้อยละ 100 1.ทะเบียนข้อมูลการคัดกรองความเสี่ยง 2.แบบรายงานผลการตรวจโดย จนท. 3.ข้อมูลการส่งต่อรักษา

ประเด็นที่กำกับติดตาม   ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 4.การพัฒนาระบบบริการค้นหาคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม 1.อำเภอมีข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาการดำเนินงานที่ผ่านมา 2.มีแผนการแก้ไขปัญหา 3.ประชาชนได้รับความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง ๕ อันดับแรก ได้แก่โรคมะเร็งปอด มะเร็งตับ มะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก และมะเร็งปากมดลูก 4. จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุก รพ./ รพ.สต.แห่งละ 1 ครั้ง ใน วันต่อต้านโรคมะเร็งแห่งชาติ(10 ธ.ค.) 1.มีแผนการรณรงค์คัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม 2.มีการจัดตั้งคลินิกมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมีตารางการให้บริการ ใน รพ.สต. 3.มีการประชาสัมพันธ์การดำเนินงานคลินิก 4.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกโดย Mobile Clinic ของ CUP ร่วมกับ รพ.สต.ทุกแห่งๆ ละ 1 ครั้ง 5.จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุก รพ./ รพ.สต.แห่งละ 1 ครั้งใน วันมะเร็งโลก(4 ก.พ.) 1.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โดย Mobile Clinic ของ CUP ร่วมกับ รพ.สต.ทุกแห่งๆ ละ 1 ครั้ง 2. จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุก รพ./ รพ.สต.แห่งละ 1 ครั้ง ในวันฉัตรมงคล (5 พ.ค..) 1.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม โดย Mobile ของ มูลนิธิกาญจนบารมีฯโดยการตรวจ Ultrasound และ Mammogram 2. จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุก รพ./ รพ.สต.แห่งละ 2 ครั้ง ใน วันแม่แห่งชาติ(12 ส.ค.) วันรณรงค์โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวโลก (22 ก.ย.) 3.มีการจัดคลินิคตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในสถานบริการ ( รพ.สต.) ร้อยละ100 1.ข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาการและแผนการแก้ไขปัญหา 2.แผนการประชาสัมพันธ์รณรงค์ 3.ผลการดำเนินงาน 4.ทะเบียนผู้รับบริการในคลินิกคัดกรองมะเร็ง

สุขภาพจิต ตัวชี้วัดหลัก : อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ≤6.3ต่อแสนประชากร หรือลดลงร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา ตัวชี้วัดรอง 1.ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการมากกว่า ร้อยละ50 2.ผู้ป่วยโรคจิตเข้าถึงบริการมากกว่า ร้อยละ60 3.ผู้ป่วยโรคสุราเข้าถึงบริการบำบัดรักษามากกว่า ร้อยละ80 4.กลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 100 5.กลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์ ร้อยละ 100

Template -อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ -ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต

การฆ่าตัวตายสำเร็จลดลง เป้าหมายไม่เกิน 6.3 ต่อแสนประชากร หรือลดลงร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา

สภาพปัญหา การบันทึกข้อมูล การเข้าถึงบริการ อาจยังไม่ถูกต้อง การบันทึกข้อมูล การเข้าถึงบริการ อาจยังไม่ถูกต้อง ไม่มีข้อมูลการคัดกรองภาวะสุขภาพจิตในประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยติดสุราและยาเสพติด หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ฯลฯ) ทั้งในสถานบริการและในชุมชน มีข้อมูลการเยี่ยมบ้านเฉพาะ กลุ่มพยายามฆ่าตัวตาย กลุ่มผู้ป่วยจิตเวชที่มีภาวะวิกฤติ กลุ่มผู้ป่วยจิตเวชทั่วไป แต่มีผลงานน้อย

Program Evaluation Review Technique (PERT) : อัตราการฆ่าตัวตายลดลงร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา   การ แก้ไข ปัญหา ฆ่าตัว ตาย มี แนวทาง ดำเนินง านการ แก้ไข ปัญหา ฆ่าตัว ตาย รพ. รับทรา บ นโยบา ยและ แนว ทางกา ร ดำเนิน งาน รพ.สต. รับทราบ นโยบาย และแนว ทางการ ดำเนินงา น มี ข้อมูล/ ทะเบียน กลุ่ม เสี่ยง มีแนวทาง การแก้ไข ปัญหา การบันทึก ข้อมูลรพ/ รพ.สต 43 แฟ้ม กลุ่มเสี่ยง walk inใน รพ.ได้รับการ คัดกรอง 2Q9Q8Q กลุ่มเสี่ยง walk inใน รพ.สตได้รับ การคัดกรอง 2Q9Q8Q กลุ่ม เสี่ยง ได้รับ การคัด กรอง2Q โดยอสม. จนท รพ/ รพ.สต. ได้รับการ พัฒนา ทักษะการ บันทึก ข้อมูล กลุ่มที่มี ภาวะ ซึมเศร้า ได้รับ Dx/RXร้อย ละ100 มีข้อมูล กลุ่ม ภาวะ ซึมเศร้า  กลุ่มเสี่ยง ได้รับการเยี่ยม บ้านโดยจนท. ร้อยละ100 มีข้อมูล การนิเทศ ติดตาม โดยทีม จังหวัด/ อำเภอ  อัตราการ ฆ่าตัวตาย ลดลงร้อย ละ 5 ผู้ป่วยจิต เวช/ ซึมเศร้า ได้รับการ เข้าถึง บริการ ตาม เป้าหมาย มีข้อมูลคัด กรอง รักษาที่ ครบถ้วน ถูกต้องใน ระบบ43 แฟ้ม กลุ่มเสี่ยง/จิตเวชทั่วไปเยี่ยม/คัดกรอง ทุก1เดือน SMIเยี่ยม/คัดกรองทุก2Wk กลุ่มเสี่ยงคือกลุ่มNCD กลุ่มสุรายาเสพติด จิตเวชและผู้พยายามฆ่าตัวตาย ต.ค-ธ.ค.2559. ม.ค-มี.ค.2560. เม.ย -มิ.ย.2560. ก.ค - ก.ย.2560. ผู้ติดสุรา/ ยาเสพติด ได้รับ บำบัดค ลินืกสุรา ยาเสพติด (กลุ่มงา นคร.)  

ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 - 12 เดือน 1.การคัดกรองภาวะซึมเศร้าในกลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/กลุ่มติดสุรา ยาเสพติด/ ผู้ป่วยจิตเวช )ได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า ทุก3เดือนและบันทึกในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม 1.มีข้อมูลวิเคราะห์สภาพปัญหาผลการดำเนินงานคัดกรองในปีที่ผ่านมาจำแนกตามกลุ่มเป้าหมาย 2.มีแผนการแก้ไขปัญหาการคัดกรองให้ได้ตามเป้าหมาย 3.มีการจัดส่งรายงานการคัดกรอง2Q9Q8Q และส่งต่อรักษาภาวะซึมเศร้าจำแนกตามกลุ่มเป้ามาย รายไตรมาส 1.กลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายร้อยละ 100 ได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าทุกครั้งที่มารับบริการในสถานบริการ(รพ/รพ.สต.) 2.มีการบันทึกข้อมูลในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ 100 3.ผู้ที่พบภาวะซึมเศร้าได้รับการส่งต่อไปเพื่อวินิจฉัยและรักษาที่ รพ.ร้อยละ 100 4. มีการจัดส่งรายงานการคัดกรอง2Q9Q8Q และส่งต่อรักษาภาวะซึมเศร้าจำแนกตามกลุ่มเป้ามาย รายไตรมาส 1.ข้อมูลการคัดกรอง2Q9Q8Q และส่งต่อรักษาภาวะซึมเศร้าจำแนกตามกลุ่มเป้ามายในระบบข้อมูล 43แฟ้มและระบบทะเบียน 2.ข้อมูลวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงาน 3.แผนการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาการคัดกรอง

ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 - 12 เดือน 2.ผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์(กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/กลุ่มติดสุรา ยาเสพติด/ ผู้ป่วยจิตเวช ผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย ) 1.มีข้อมูลกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการเยี่ยมบ้าน 2.มีแผนการเยี่ยมบ้าน 3.ผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการเยี่ยมบ้านและได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าตามเกณฑ์ ร้อยละ 80 4.ผู้ที่พบว่าอาการซึมเศร้าจากการประเมินโดยอสม.ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าโดยจนท.ร้อยละ100 5.ผู้ที่ได้รับการเยี่ยมแล้วพบว่ามีภาวะซึมเศร้าได้รับการส่งต่อไปเพื่อวินิจฉัยและรักษาที่ รพ.ร้อยละ 100 6.มีการบันทึกข้อมูลในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ 100 7.มีการจัดส่งรายงานการเยี่ยมบ้าน 1.ผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการเยี่ยมบ้านและได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าตามเกณฑ์ ร้อยละ 80 2.ที่พบว่าอาการซึมเศร้าจากการประเมินโดยอสม.ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าโดยจนท.ร้อยละ100 3.ผู้ที่ได้รับการเยี่ยมแล้วพบว่ามีภาวะซึมเศร้าได้รับการส่งต่อไปเพื่อวินิจฉัยและรักษาที่ รพ.ร้อยละ 100 4. .มีการบันทึกข้อมูลในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ 100 5. มีการจัดส่งรายงานการการเยี่ยมบ้านจำแนกตามกลุ่มเป้ามาย รายไตรมาส 1.ทะเบียนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการเยี่ยมบ้าน 2.แผนการเยี่ยมบ้าน 3.ข้อมูลการเยี่ยมบ้านในแต่ละกลุ่มเป้าหมายและข้อมูลผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการส่งต่อ 4.ข้อมูลการวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงาน 2.1กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง /กลุ่มผู้ป่วยสุรา ยาเสพติด ผู้ป่วยจิตเวชทั่วไป ได้รับการเยี่ยมบ้านโดย จนท./ อสม.เดือนละ 1 ครั้ง 2.2 ผู้ป่วยจิตเวช SMI และผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย ได้รับการเยี่ยมบ้านโดย จนท. ทุก 2 สัปดาห์ อสม. เดือนละ 1 ครั้ง

ประเด็นที่กำกับติดตาม   ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3.กลุ่มผู้ติดสุราเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา 1.มีข้อมูลจำนวนกลุ่มผู้ติดสุรา 2.มีแผนงานและกระบวนการการนำผู้ติดสุราเข้าสู่การบำบัดรักษา 1.กลุ่มผู้ติดสุราได้รับการบำบัดรักษาร้อยละ60 2.มีการบันทึกข้อมูลการบำบัดรักษาในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ 100 3.มีการจัดส่งรายงานราย ไตรมาส 1.กลุ่มผู้ติดสุราได้รับการบำบัดรักษาร้อยละ70 2.มีการบันทึกข้อมูลการบำบัดรักษาในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ 100 3.มีการจัดส่งรายงานราย ไตรมาส 1.กลุ่มผู้ติดสุราได้รับการบำบัดรักษาร้อยละ80 2.มีการบันทึกข้อมูลการบำบัดรักษาในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ร้อยละ 100 1.ข้อมูลจำนวนผู้ติดสุรา 2.แผนงานและกระบวนการการนำผู้ติดสุราเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา 3.ข้อมูลกลุ่มผู้ติดสุราเข้าถึงบริการบำบัดรักษา 4.การพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชใน รพ./รพสต. 1.มีการประเมินมาตรฐานคลินิกสุขภาพจิต 2.มีการวิเคราะห์และวางแผนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช มีการแก้ไขปัญหาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช 1.มีการสรุปปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช 2.มีการประเมินมาตรฐานคลินิกสุขภาพจิตครั้งที่ 2 3.รพ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 70 รพ.สต. ร้อยละ 50 1.ข้อมูลการประเมินมาตรฐานคลินิกสุขภาพจิต2.แผนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช 3.ผลการประเมินมาตรฐานหลังการวางแผนแก่ไขปัญหา

สวัสดี