การพัฒนาเว็บไซต์ ในงานธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dreamweaver Adobe การสร้างโฮมเพจด้วย โปรแกรม 4 โดย.. ไชยยงค์ กงศรี
Advertisements

Script Programming& Internet Programming
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
SUDIN CHAOHINFA 1 Web page design by Macromedia Dreamweaver ตัวอย่างเว็บไซต์ บ้านดินรุ่งอรุณ.
ขอต้อนรับ...สู่โลกอินเทอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต (Internet)
บทที่ 6 อินเตอร์เน็ต ความเป็นมา.
HTML เอกสารประกอบการบรรยายรายวิชา Browser-Based Application Development.
การพัฒนาเว็บเพจ เอกสารประกอบการบรรยาย รายวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 2.
การใช้งานคอมพิวเตอร์ และ อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
World Wide Web WWW.
โพรโตคอลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Protocol)
Kulachatr Chatrkul Na Ayudhya Introduction to e-Commerce
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
อินเตอร์เน็ต INTERNET.
การสร้างเว็บเพจ HTML.
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 12 กรกฎาคม 2550 HTML (HyperText Markup Language)
คอมพิวเตอร์ ร.ร.จักรคำคณาทร
เรื่อง โดเมนเนม โดเมนเนม.
Internet.
บทที่ 5 INTERNET อินเตอร์เน็ต คืออะไร? ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต
รายวิชา การออกแบบเว็บไซต์
13 October 1. Information and Communication Technology Lab 8 Web Browser and Seach Engine โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย.
Doma in สากล Domai n ใน ไทย ย่อมาจากความหมาย.com.co.thCommerce of Thailand องค์กรธุรกิจ ภาคเอกชนใน ประเทศไทย.gov.go.thGovernment of Thailand.
World Wide Web. You will know หัวเรื่องหลักๆทั้งหมด 5 หัวข้อดังนี้ Basic Web Concept Web application in daily life Essential Web Developer Language How.
อินเทอร์เน็ต โดย.. ครูสาคร หนูอิน.
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
Application Layer.
Mr. Winai Purikasem. Introduction  Hypertext model  Use of hypertext in World Wide Web (WWW)  WWW client-server model  Use of TCP/IP protocols in.
ac.th. WWW (World Wide Web) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ถึงกันทั่ว โลก โดยใช้โปรโตคอลที่ชื่อว่า TCP/IP.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการ สร้างเว็บไซต์. ศัพท์เบื้องต้นเกี่ยวกับเว็บไซต์ Internet คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดใน โลกเกิดจากการเชื่อมโยง.
การสื่อสารข้อมูล.
ศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์
โรงเรียนห้วยเม็กวิทยาคม
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HTML
Information Technology For Life
บทที่ 8 เครือข่ายการสื่อสารทางไกลระหว่างประเทศ
รายวิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
HTML5 (Hypertext Markup Language 5)
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต Internet Technology
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.1 ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
หลักสูตรการพัฒนาเว็บไซต์ส่วนงานด้วย CMS ส่วนกลาง
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
จงยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้สำหรับออกแบบเว็บไซด์
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
การออกแบบและพัฒนาเว็บ (WEB DESIGN AND DEVELOPMENT)
บทที่ 4 การใช้งานอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น Introduction to Internet
การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
อาจารย์สุธารัตน์ ชาวนาฟาง
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
อินเทอร์เน็ต by krupangtip
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Internet
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
การให้บริการไฟล์ File Transfer Protocol
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
องค์ประกอบของเวิลด์ไวด์เว็บ
โดเมนเนมและการจดทะเบียน (Domain Name Register)
ขั้นตอนการสร้างเว็บไซต์
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
บทที่ 2 ระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาเว็บไซต์ ในงานธุรกิจ

หัวข้อการบรรยาย พื้นฐานการทำงานของเว็บไซต์ ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต การพัฒนาเว็บไซต์

1. พื้นฐาน การทำงานของเว็บไซต์

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต เว็บเทคโนโลยี (Web Technology) คือ บริการหนึ่งในรูปแบบต่างๆของการให้บริการของอินเตอร์เน็ต สำหรับผู้พัฒนาเว็บ หรือผู้ที่ต้องการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อสื่อสารผ่านเว็บ หรือ อินเตอร์เน็ต แล้วจะต้องรู้และเข้าใจเรื่องเกี่ยวกับโปรโตคอล (Protocal)

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต โปรโตคอล เป็นเพียงข้อตกลงกันระหว่าง 2 ฝ่ายที่ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถสื่อสารกันได้อย่างถูกต้อง และราบรื่นมากที่สุด การใช้บริการเว็บจะทำงานภายใต้ โปรโตคอล HTTP โดยโปรโตคอลจะเป็นตัวกำหนดวิธีการส่งข้อมูลหรือไฟล์ ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็น Client และ Server รวมถึงการกำหนด กฏระเบียบในการติดต่อด้วย เราจะใช้โปรแกรมประเภท Browser เป็นตัวช่วยในการติดต่อสื่อสารได้ง่ายขึ้น

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต หมายถึง ลักษณะของการเชื่อมต่อของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งเล็กและใหญ่จำนวนมากเข้าด้วยกัน โดยมีข้อกำหนดว่าทุกเครือข่ายที่เชื่อมต่อถึงกัน จะต้องอยู่ภายใต้มาตรฐานของการเชื่อมต่อ(โปรโตคอล) ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อใช้งานบนเครือข่ายแบบนี้โดยเฉพาะ ซึ่งเรียกว่า TCP/IP

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต จากมาตรฐานการเชื่อมต่อกันนี้เอง จึงมีผลทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพ และไม่มีขีดจำกัดทางด้านเวลาและสถานที่

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต โปรโตคอล HTTP (Hypertext Transfer Protocol) เป็นโปรโตคอลที่ใช้ในการกระจายและทำงานร่วมกันของข้อมูลที่ในอยู่ในรูปสื่อที่สามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ เนื่องจากโปรโตคอล HTTP สามารที่จะใช้ในการรับส่งข้อมูลที่เป็นข้อความ รูป ภาพ หรือภาพเคลื่อนไหวได้ จึงทำให้แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่ใน WWW อนุญาตให้เข้าถึงได้โดยผ่านโปรโตคอล HTTP

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต WWW (World Wide Web) อาจเรียกสั้นๆ ว่า เว็บ เปรียบเสมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ที่รวบรวมข้อมูลที่มากที่สุดในโลกก็ว่าได้ สามารถค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้เกือบทุกอย่างจากบริการเว็บ

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต ข้อมูลในเว็บจะอยู่ในรูปแบบที่เรียกว่า Hypertext และทำการเชื่อมโยง (Links) ข้อความหรือ รูปภาพ เข้ากับเอกสารอื่นๆ อย่างเป็นอิสระต่อกัน

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต ภาพหรือข้อความที่แสดงบนหน้าจอจะแสดงได้ทีละหน้า ซึ่งเรียกว่า เพจ (Page) หรืออาจมีการเชื่อมโยงด้วยการลิงค์ (Links) เพื่อค้นหาข้อมูลจากอีกเพจหนึ่งที่อยู่ห่างออกไปไกลๆได้

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ เปรียบเหมือนเว็บเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ เว็บไซต์จะเปรียบเสมือนหนังสือหนึ่งเล่มในห้องสมุดนั้น สามารถเลือกหยิบหนังสือเล่มใดก็ได้ในห้องสมุดเว็บขึ้นมาอ่าน โดยระบุชื่อหนังสือในลักษณะที่เรียกว่า URL(อ่านว่า ยู อาร์ แอล) เช่น เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางมี URL หรือมีชื่อเป็นwww.lpru.ac.th หรือเว็บไซต์ของสาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อุตสาหกรรมมีชื่อว่า www.comtech.lpru.ac.th เป็นต้น

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต เว็บเพจ (Web Page) และโฮมเพจ (Home Page) ถ้าเว็บไซต์ คือ หนังสือหนึ่งเล่ม เว็บเพจก็คือ หน้ากระดาษต่างๆ ที่บรรจุเนื้อหาในหนังสือเล่มนั้นส่วน โฮมเพจ คือ ปกหน้าของหนังสือ ปกติแล้วเมื่อเริ่มเปิดโปรแกรม Web Browser โปรแกรมจะนำเข้าสู่หน้าแรกของเว็บใดเว็บหนึ่งให้โดยอัตโนมัติ หน้าแรกนั้นจะถือว่าเป็นโฮมเพจด้วยเช่นเดียวกัน สามารถเปลี่ยนโฮมเพจของโปรแกรม Web Browser ที่ใช้อยู่นี้ให้ไปยังเว็บไซต์ใดก่อนก็ได้

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต เว็บเพจ (Web Page) และโฮมเพจ (Home Page)

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (Web Browser) การแสดงผลข้อมูลต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตในรูปของ HTML ไม่สามารถที่จะแสดงผลข้อมูลออกมาโดยตรงได้ จะต้องใช้โปรแกรมเว็บบราวเซอร์เป็นตัวกลางที่จะทำหน้าที่แปลงคำสั่งก่อนแล้วแสดงผลคำสั่งให้ออกมาเป็นรูปภาพ เสียง และข้อมูลต่างๆ บราวเซอร์ที่ผู้ใช้นิยมใช้กันก็จะมีโปรแกรม Internet Explorer และ Netscape Navigator

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (Web Browser)

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต DNS-Domain Name System คือ ระบบการตั้งชื่อบนอินเทอร์เน็ต ทรัพยากรบนอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่ออยู่นั้นต้องมีหมายเลขประจำเครื่อง ซึ่งหมายเลขนี้เรียกว่า IP โดยการที่จะจดจำหมายเลขประจำเครื่องนั้นทำได้ยาก จึงมีวิธีการตั้งชื่อให้จดจำและใช้งานง่าย ระบบชื่อจึงถูกกำหนดให้เป็นมาตรฐาน โดยแบ่งตามลำดับขั้นตามสภาพภูมิศาสตร์ เป็นประเทศ ประเภทขององค์กร และชื่อองค์กร เช่น www.lpru.ac.th th คือ ชื่อประเทศไทย ac คือ ประเภทองค์กร bu คือ ชื่อองค์กร

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต Domain ที่นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบัน เช่น .com = กลุ่มธุรกิจการค้า (Commercial) .edu = กลุ่มการศึกษา (Education) .gov = กลุ่มองค์กรรัฐบาล (Government)

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต ความหมายของ Sub Domain เช่น .co = องค์การธุรกิจ (Commercial) .ac = สถาบันการศึกษา (Academic) .go = หน่วยงานรัฐบาล (Government) .or = องค์กรอื่น ๆ (Organizations)

ความรู้เบื้องต้นการใช้งานอินเทอร์เน็ต Domain Name ชื่อย่อของประเทศ เช่น .th = Thailand .hk = Hong Kong .jp = Japan .sg = Singapore

2. การพัฒนาเว็บไซต์

วิธีสร้างเว็บไซต์ สร้างเว็บไซด์ด้วย Web Hosting สร้างเว็บไซด์ด้วยโปรแกรมกราฟิก สร้างเว็บไซด์ด้วยภาษา HTML และ JavaScript

ขนาดหน้าของเว็บเพจ ขนาดหน้าของเว็บเพจที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี 2 ขนาด คือ ขนาด 800X600 pixels จะสามารถแสดงหน้าเว็บได้ครบถ้วนกับหน้าจอที่มีขนาด 15 นิ้วขึ้นไป ขนาด 800X600 pixels เป็นขนาดของหน้าเว็บเพจที่นิยมมากที่สุดในปัจจุบัน เพราะสามารถแสดงข้อมูลของเว็บได้มากขึ้นและง่ายต่อการออกแบบด้วย

พื้นที่ของเว็บเพจ การจัดสรรพื้นที่ของเว็บเพจสามารถทำได้หลายรูปแบบ แต่ที่นิยมใช้กันจริงๆจะมีอยู่ 3 แบบ คือ การแบ่งแบบอิสระ การแบ่ง 2 ส่วน การแบ่ง 3 ส่วน

ส่วนประกอบของเว็บ

ส่วนประกอบของเว็บ โลโก้ (Logo)

ส่วนประกอบของเว็บ ส่วนหัวของเว็บเพจ (Page Header)

ส่วนประกอบของเว็บ เมนูหลัก (Link Menu)

ส่วนประกอบของเว็บ ส่วนที่ใช้แสดงเนื้อหาของเว็บ (Page Body)

ส่วนประกอบของเว็บ ส่วนล่างสุดของเล็บไซด์ (Page Footer)

ส่วนประกอบของเว็บ ช่องทางการโฆษณาของเว็บไซด์ (Banner)

2. ขั้นตอน ในการพัฒนาเว็บไซต์

เทคโนโลยีเว็บ เมื่อโลกของเราเข้าสู่ยุคเทคโนโลยีจึงมีการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาก็ย่อมเกิดขึ้น " Internet " ก็เช่นกันที่พัฒนาจาก Web 1.0 เป็น Web 2.0... เราจะเห็นว่าโลกของ " Internet " มีความก้าวหน้าและพัฒนาไปอย่างรวดเร็วมากๆ ซึ่งเราจะมาดูกันว่าการวิวัฒนาการของ Web 1.0 - 4.0 เป็นยังไง 

เทคโนโลยีเว็บ Web 1.0 การสื่อสารแบบทางเดียว ของ เจ้าของเว็บไซต์นั้นๆ เป็นผู้ดูแลค่อยๆนำข้อมูลใหม่ๆ ไปนำเสนอนั้นเอง หรือ การสื่อสารแบบทางเดียว ที่เราเรียกกันว่า One Way Communication ก็ได้

เทคโนโลยีเว็บ Web 2.0 เป็นT wo Way Communication เป็นเรื่องของการแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกันอย่างแท้จริง

เทคโนโลยีเว็บ Web 3.0 ได้โดยการเอาข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่มาจัดให้อยู่ในรูปแบบ Metadata

เทคโนโลยีเว็บ Web 4.0 "A Symbiotic web" คือเว็บไซต์ที่ทำงานแบบ Artificial Intelligence (AI) ที่ฉลาดมากยิ่งขึ้น

ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ เตรียมเนื้อหาที่จะนำเสนอ ก่อนอื่นต้องมีเป้าหมายก่อนว่าจะทำเว็บไซต์เกี่ยวกับเรื่องอะไรและเนื้อหาต่างๆ มีอะไรบ้าง แล้วจัดเตรียมสิ่งต่างๆ ซึ่งหมายถึง ข้อความ, ภาพประกอบ, เสียง และอื่น ๆ

ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ ออกแบบหน้าตาของเว็บไซต์ ว่าต้องการให้มีลักษณะเป็นอย่างไร เช่น จะมีการแบ่งเฟรมหรือไม่ สี ของ Background และตัวอักษรเป็นสีอะไร จะจัดวางอะไรไว้ตรงส่วนไหน จะมี Link ที่ใดบ้างและแต่ละ Link เชื่อมโยงไปหาส่วนใด เป็นต้น

ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ ออกแบบหน้าตาของเว็บไซต์

ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ ออกแบบหน้าตาของเว็บไซต์

ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ ออกแบบหน้าตาของเว็บไซต์

ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ เขียนและทดสอบ ลงมือเขียนโดยใช้โปรแกรมสำหรับเขียนเว็บไซต์ แล้วทำการทดสอบการแสดงผลและ Link ต่างๆ ว่าเชื่อมโยงได้ถูกต้องหรือไม่ ในขั้นตอนนี้ถ้ามีปริมาณข้อมูลมากและมีการเชื่อมโยงที่ซับซ้อนก็จะใช้เวลาค่อนข้างมากเพราะต้องคอยปรับแก้อยู่เรื่อย ๆ

ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ ลงทะเบียนชื่อเว็บไซต์และจัดหาพื้นที่เก็บข้อมูล สำหรับการสร้างเว็บไซต์ของอาจารย์จะมีชื่อเว็บไซต์ตามตัวอย่างดังนี้ Login: suchada จะมีชื่อเว็บไซต์ว่า http://netra.lpru.ac.th/~suchada/ เนื้อที่ในการจัดทำเว็บไซต์จะมีพื้นที่ 10 MB

ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ นำเว็บไซต์ที่สร้างขึ้น Upload ขึ้น Server และตรวจสอบความเรียบร้อย คือ การคัดลอกข้อมูล จากเครื่องของเราไปเก็บไว้ในเครื่อง Server ซึ่งการคัดลอกนี้เรียกว่า Upload โดยใช้โปรแกรมสำหรับการUpload เช่น โปรแกรม WinSCP, CuteFtp, WS_FTP (โปรแกรม Dreamweaver มีความสามารถนี้อยู่แล้ว)

ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ ประกาศให้โลกรับรู้ เมื่อตรวจสอบความเรียบร้อยแล้ว ก็ถึงคราวที่จะชักชวนให้ผู้คนมาชมเว็บไซต์ โดยประชาสัมพันธ์ผ่านทางสื่อต่างๆ เช่น แลก Link กับเว็บไซต์อื่นๆ ฝากข้อความชักชวนไว้ตามกระดานข่าวต่างๆ หรือจะเพิ่มชื่อเว็บไซต์ให้กับแหล่งรวมข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตอย่าง yahoo หรือ google

ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ สามารถดูเว็บไซต์ได้ในหลายบราวเซอร์ การทำเว็บไซต์ควรจะทำเพื่อให้สามารถดูได้จากทุกๆ Version ของ Software ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Netscape, Communicator, Internet Explorer หรือ อื่นๆ การทำให้ทุกคนดูได้นี้ ถือว่าเป็นการขยายฐานของผู้เข้าเยี่ยมชม

ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ ตัวอักษร, ฉากหลัง และ สี สำหรับรูปแบบที่นิยมใช้คือ ตัวอักษรสีดำ บนฉากหลังขาว ถ้าต้องการกำหนดประเภทของตัวอักษรควรใช้ที่เป็นสากลนิยม เช่น ในกรณีภาษาอังกฤษ อาจใช้ Arial หรือTimes News Roman เป็นต้น ส่วนภาษาไทย อาจใช้ MS Sans Serif การเลือกใช้ตัวอักษรภาษาไทยนั้นต้องระวังเป็นพิเศษเพราะในกรณีที่เครื่องผู้เยี่ยมชมไม่มีตัวอักษรนั้นๆ อาจทำให้ผู้เข้าเยี่ยมชมไม่สามารถอ่านตัวอักษรได้เลย

ข้อแนะนำในการทำเว็บไซต์ ส่วนประกอบที่ขาดไม่ได้ของเว็บไซต์ เช่น หัวข้อที่เกี่ยวกับผู้จัดทำ อาจเป็นประวัติความเป็นมา และ/หรือ ข้อมูลปัจจุบัน (About us) เหล่านี้ช่วยเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับผู้เข้าเยี่ยมชม และเพิ่มเติมเกี่ยวกับแถบนำทาง Search Sitemap และยังมีหัวข้ออื่นๆ อีก เช่น ข้อเสนอแนะ (Feedback) คำถามที่ถูกถามบ่อย (FAQ - Frequently Asked Questions)