“ คือ การศึกษา รวบรวม บันทึก และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวกับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

System Requirement Collection (2)
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
วิทยาลัยเทคโนโลยีกิตติบริหารธุรกิจ Kitti Business Administration Technological College ชื่อเรื่อง “พฤติกรรมการใช้โปรแกรม Microsoft Office ของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
แบบสอบถาม (Questionnaire)
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
การวัด Measurement.
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การออกแบบและวางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“ คือ การศึกษา รวบรวม บันทึก และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวกับ Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit การวิจัยผู้บริโภค “ คือ การศึกษา รวบรวม บันทึก และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวกับ ปัญหาการตลาดสินค้าและบริการ อย่างเป็นระบบ” - วิจัยโฆษณา - วิจัยผู้บริโภค - วิจัยผลิตภัณฑ์ - วิจัยราคา - วิจัยการขาย

1. กำหนดปัญหาหรือเรื่องที่ต้องการศึกษา 2. กำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit กระบวนการวิจัย 1. กำหนดปัญหาหรือเรื่องที่ต้องการศึกษา 2. กำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย 3. การออกแบบและจัดเตรียมการวิจัย 4. การรวบรวมข้อมูล 5. การประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล 6. การเสนอรายงาน

- “ ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศของผู้บริโภค Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit ตัวอย่างปัญหา - “ ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศของผู้บริโภค อายุระหว่าง 25 - 40 ปีในเขตกรุงเทพมหานคร ” - “ ทัศนคติของผู้บริโภคในเขตสวนหลวง ที่มีต่อธุรกิจให้บริการจัดงาน วิวาห์ครบวงจร ” - “ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้บริการร้านค้าปลีกในจังหวัดนครปฐม”

ตัวอย่างวัตถุประสงค์ Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit ตัวอย่างวัตถุประสงค์ ปัญหา: พฤติกรรมการดูแลและรักษาสุขภาพ ของผู้บริโภค ที่มีอายุระหว่าง 35 - 50 ปีในเขตกรุงเทพมหานคร วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลรักษาสุขภาพของผู้ บริโภคที่มีอายุระหว่าง 35 - 50 ปี ในเขตกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อศึกษาแนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคกลุ่ม เป้าหมายที่เกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพ 3. เพื่อนำเสนอข้อมูลพื้นฐานของการดูแลสุขภาพทั่วไป ของผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย

ประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัย Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit ประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัย 1. เพื่อสามารถนำไปใช้ในการวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาดสำหรับสินค้า หรือบริการเพื่อสุขภาพได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้ บริโภคกลุ่มเป้าหมาย 2. เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้ที่ต้องการศึกษา และวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรม ผู้บริโภคที่มีอายุระหว่าง 35 - 50 ปี ในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีต่อการดูแล และรักษาสุขภาพ

* ธุรกิจวิวาห์ครบวงจร หมายถึง ธุรกิจที่ให้บริการจัดงานแต่งงาน โดยเสนอ Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit นิยาม : * ธุรกิจวิวาห์ครบวงจร หมายถึง ธุรกิจที่ให้บริการจัดงานแต่งงาน โดยเสนอ รูปแบบการจัดงานและบริการต่างๆ เช่น ถ่ายรูปหน้างาน, จัดหาของชำร่วย, แต่งหน้าเจ้าบ่าว - เจ้าสาว, ให้บริการเช่าชุดแต่งงาน เป็นต้น * Discount Store หมายถึง ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ที่เสนอขายสินค้าทั้ง อุปโภคและบริโภคให้กับผู้บริโภค ในราคาประหยัด โดยมีเนื้อที่ร้านขนาด ใหญ่ เช่น โลตัส บิ๊กซี คาร์ฟูร์ เป็นต้น

- ผู้บริโภคที่มีอายุระหว่าง 35 - 50 ปีเป็นผู้ห่วงใยในสุขภาพ ของตนเอง Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit สมมติฐานในการวิจัย - ผู้บริโภคที่มีอายุระหว่าง 35 - 50 ปีเป็นผู้ห่วงใยในสุขภาพ ของตนเอง - เพศชายจะห่วงใยสุขภาพมากกว่าเพศหญิง - เพศหญิงจะนิยมออกกำลังกายมากกว่ารับประทานอาหาร เสริมเพื่อสุขภาพ

เป็นการระบุถึงขอบเขตการศึกษาในเรื่องวิจัยที่เราต้องการ Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit ขอบเขตในการวิจัย เป็นการระบุถึงขอบเขตการศึกษาในเรื่องวิจัยที่เราต้องการ เช่น ใช้สถานที่ อายุ เพศ อาชีพ เป็นตัวระบุขอบเขตการศึกษานั้นๆ เช่น ผู้บริโภคที่มีอายุระหว่าง 60 - 80 ปี ในอำเภอเมือง จังหวัดพระ- นครศรีอยุธยา นอกจากนี้ยังต้องกำหนดเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่ม ตัวอย่างต่างๆ และบอกตัวแปรที่ต้องการศึกษา เช่น ปัจจัยที่มีอิทธิพล ในการซื้อ, ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่ออาหารสำเร็จรูป ฯลฯ

การออกแบบและจัดเตรียมการวิจัย Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit การออกแบบและจัดเตรียมการวิจัย การวิจัยทางการตลาด แบ่งตามความชัดเจนของปัญหาหรือเรื่อง ที่ศึกษาได้ ดังนี้ 1. การวิจัยเชิงสำรวจหรือเชิงแสวงหา (Exploratory research) 2. การวิจัยเชิงพรรณา (Descriptive research) 3. การวิจัยเชิงเหตุผล(Causal research)

การจัดเตรียมการวิจัย มีดังนี้ Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit การจัดเตรียมการวิจัย มีดังนี้ 1. การกำหนดรูปแบบการวิจัย 2. เครื่องมือวัดและเครื่องมือในการเก็บข้อมูล 3. ขนาดของกลุ่มตัวอย่างและการคัดเลือกตัวอย่าง 4. แผนการวิเคราะห์ข้อมูล

การกำหนดรูปแบบการวิจัย Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit การกำหนดรูปแบบการวิจัย 1. รูปแบบการวิจัยที่ใช้ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) 2. รูปแบบการวิจัยที่ใช้ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) 2.1 ข้อเท็จจริง 2.2 ความรู้ 2.3 ความคิดเห็นและทัศนคติ 2.4 ความตั้งใจซื้อ 2.5 แรงจูงใจ

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ 1. การสังเกต ได้แก่ สังเกตทางตรง และสังเกตทางอ้อม ข้อดี : สะดวก มีอคติต่ำ 2. การสำรวจ; โดยการใช้แบบสอบถาม(Questionnaire) ได้แก่ * การสำรวจแบบตัดขวาง (Cross-sectional Survey) * การสำรวจหลายครั้งต่างห้วงเวลา (Longitudinal survey)

วิธีการสำรวจเก็บข้อมูล 1. สำรวจทางไปรษณีย์ 2. การสำรวจทางโทรศัพท์ Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit วิธีการสำรวจเก็บข้อมูล 1. สำรวจทางไปรษณีย์ 2. การสำรวจทางโทรศัพท์ 3. การสำรวจโดยพบตัว 3. การสัมภาษณ์ (Interview) * เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) - ต้องการผู้ให้ข้อมูลจำนวนไม่มาก - การสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นรูปแบบโครงสร้าง - เน้นการวัดทางอ้อม เรื่องความรู้สึก ความเชื่อ - มีการสังเกตผู้ให้ข้อมูลขณะตอบ * ได้แก่ การสัมภาษณ์กลุ่มเจาะจง และแบบเจาะลึก

3.1 การสัมภาษณ์กลุ่มเจาะจง ( Focus Group Interview) Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit 3.1 การสัมภาษณ์กลุ่มเจาะจง ( Focus Group Interview) * มีการให้ความสำคัญกับผู้ที่จะถูกเลือกมาให้สัมภาษณ์อย่างมาก * จัดเป็นกลุ่มกลุ่มละประมาณ 6 - 12 คน * มีการสังเกตพฤติกรรมก่อนจะทำการสัมภาษณ์ * การสัมภาษณ์จะเป็นแบบการอภิปรายร่วมกัน * เหมาะกับการสำรวจเพื่อหาข้อมูลเบื้องต้นในเรื่องที่ไม่แน่ชัด เช่น การออกสินค้าใหม่, สาเหตุการซื้อ / ไม่ซื้อของ Target * ไม่ให้คำตอบเป็นเชิงปริมาณ หรือ %

3.2 การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Depth Interview) Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit 3.2 การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Depth Interview) * เป็นการสัมภาษณ์แบบ one - on - one * เพื่อค้นหาแรงจูงใจ, อคติ, ทัศนคติ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง * ต้องการผู้สัมภาษณ์ที่มีความสามารถและชำนาญสูง * เหมาะกับการถาม เรื่องส่วนตัว, เหตุผลที่ซับซ้อน, อิทธิพล ของกลุ่มต่อบุคคล * ต้องถามคำถามโดยอ้อม กระตุ้นให้ผู้ให้สัมภาษณ์ตอบอย่าง เต็มที่

เทคนิคการฉายความคิด (Projective Technics) Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit เทคนิคการฉายความคิด (Projective Technics) * เป็นการถามเลียบเคียง ใช้ในการสัมภาษณ์แบบหยั่งลึก 1. การต่อคำ (Word Association) 2. การเติมประโยคให้สมบูรณ์ (Sentence Completion) 3. การต่อเรื่องให้จบ (Unfinished scenario story completion) 4. การฉายภาพไปที่บุคคลอื่น (Third person / Role playing) 5. เติมการ์ตูนให้สมบูรณ์ (Cartoon completion test)

4. การทดลอง( Experiment ) Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit 4. การทดลอง( Experiment ) * เป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่าง สาเหตุ กับ ผลลัพธ์ หรือ ตัวแปรนำ กับ ตัวแปรตาม 4.1 การทดลองในห้องปฏิบัติการ (Lab Experiment) 4.2. การทดลองในสภาพแวดล้อมจริง (Field Experiment)

ระดับของการวัดหรือมาตรวัด(Scale) ได้แก่ Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit เครื่องมือในการวัด ระดับของการวัดหรือมาตรวัด(Scale) ได้แก่ 1. มาตรวัดที่เป็นชื่อหรือระดับแบ่งกลุ่ม ( Nominal scale) * ชอบ/ ไม่ชอบ , เคย/ ไม่เคย 2. มาตรวัดแบบจัดอันดับ ( Ordinal scale) * ให้เรียงอันดับห้างสรรพสินค้าที่ท่านใช้บริการมากที่สุด 3. มาตรวัดแบบช่วง(Interval scale) * ความพึงพอใจของท่านที่มีต่อบริการ WAP ของ AIS อยู่ ในระดับใด โดยมีคะแนนให้ตั้งแต่ 0 - 10 4. มาตรวัดในระดับอัตราส่วน (ratio scale)

การกำหนดมาตราส่วนวัดทัศนคติ Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit การกำหนดมาตราส่วนวัดทัศนคติ 1. การเปรียบเทียบทีละคู่ (Paired comparison scale) A B C D A - 1 1 0 B 0 - 0 0 C 0 1 - 0 D 1 1 1 - รวม 1 3 2 0

2. การเรียงลำดับคำตอบ (Rank Order) Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit 2. การเรียงลำดับคำตอบ (Rank Order) ให้ท่านเรียงลำดับนิตยสารที่ท่านชื่นชอบมากที่สุด 1 - 3 _ แพรว _ ลิปส์ _ ดิฉัน 3. การให้คะแนนโดยกำหนดผลรวมคงที่ โปรดให้คะแนนความพอใจนิตยสารข้างล่างนี้ โดยผลรวม คะแนนทั้งหมด เท่ากับ 10 _ แพรว คะแนน = _ ลิปส์ คะแนน = _ ดิฉัน คะแนน = รวมคะแนน 10 คะแนน

4. มาตราไลเคิร์ท (Likert Scale) : ใช้ในการประเมินความพอใจในตรา Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit 4. มาตราไลเคิร์ท (Likert Scale) : ใช้ในการประเมินความพอใจในตรา ต่างๆ หรือคุณสมบัติต่างๆ ของสินค้าชนิดหนึ่ง มักแบ่งระดับให้ออก เป็นเลขคี่ เพื่อให้มีค่ากลาง ปัจจัยดังต่อไปนี้มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อนิตยสารของท่านในระดับใด ความสำคัญ ปัจจัย มาก ค่อนข้างมาก ปานกลาง ค่อนข้างน้อย น้อย 5 4 3 2 1 ชื่อนิตยสาร หน้าปกนิตยสาร ราคา

5. มาตราส่วนระดับความแตกต่างโดยความหมาย (Semantic Differential Scale) Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit 5. มาตราส่วนระดับความแตกต่างโดยความหมาย (Semantic Differential Scale) มันฝรั่งแผ่นทอดกรอบ เลย์ คุณภาพดี 10 0 คุณภาพไม่ดี รสชาติอร่อย รสชาติไม่อร่อย สะอาด ไม่สะอาด ไม่เหม็นหืน เหม็นหืน

6. มาตราส่วนชนิดมีคำตอบยืนพื้น (Staple Scale) Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit 6. มาตราส่วนชนิดมีคำตอบยืนพื้น (Staple Scale) ความพึงพอใจของคุณที่มีต่อห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล บางนา -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 * ความสุภาพ ของพนักงาน ขาย * ความครบครัน ของสินค้า * ความหาง่าย

แบบสอบถาม (Questionnaire) Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit แบบสอบถาม (Questionnaire) เทคนิคการร่างคำถาม 1. มีการแนะนำการสำรวจวิจัย 2. ถามเฉพาะที่จำเป็น 3. ใช้ภาษาที่เหมาะสมกับผู้ตอบ 4. ควรเริ่มต้นด้วยคำถามคัดคุณสมบัติผู้ตอบ (Filter question) 5. จัดกลุ่มและลำดับคำถามให้เหมาะสม 6. มีความชัดเจนและแม่นยำ

เทคนิคการร่างคำถาม (ต่อ) 7. คำตอบให้เลือกต้องเป็นอิสระต่อกัน Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit เทคนิคการร่างคำถาม (ต่อ) 7. คำตอบให้เลือกต้องเป็นอิสระต่อกัน 8. คำตอบที่ให้เลือกต้องครอบคลุมทั้งหมด 9. ระมัดระวังการตั้งคำถามคำตอบที่ชี้นำหรือมีอคติ 10. ต้องไม่มีคำถามซ้อน 11. พยายามหลีกเลี่ยงคำที่เรียกปฏิกิริยาหรืออารมณ์จากผู้ตอบ 12. คำถามประเภทสมมติ ควรมีการทดสอบแบบทดสอบก่อนทุกครั้ง (Pretest) เพื่อให้แน่ใจว่า แบบทดสอบดังกล่าวสามารถใช้งานได้จริง

ขนาดของกลุ่มตัวอย่างและการเลือก Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit ขนาดของกลุ่มตัวอย่างและการเลือก กลุ่มตัวอย่าง (Sample Survey) คือ ตัวแทนของประชากรที่ เราต้องการศึกษาทั้งหมด 1. ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง 1.1 การกำหนดจากประสบการณ์ผู้วิจัย หรือ จากงานวิจัยครั้งก่อนๆ 1.2 กำหนดขนาดตัวอย่างตามงบประมาณที่มี 1.3 การคำนวณขนาดตัวอย่างตามวิธีการทางสถิติ 1.4 กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามตารางสำเร็จ

วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง (Sampling Process) Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง (Sampling Process) 1. การคัดเลือกตัวอย่างตามความน่าจะเป็น 1.1 การคัดเลือกตัวอย่างแบบง่าย 1.2 การคัดเลือกตัวอย่างแบบเป็นระบบ 1.3 การคัดเลือกตัวอย่างแบบแบ่งชั้นก่อน 1.4 การคัดเลือกแบบยกกลุ่ม

2. การคัดเลือกตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็น Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit 2. การคัดเลือกตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็น 2.1 การคัดเลือกตัวอย่างตามความสะดวก 2.2 การคัดเลือกตามวิจารณญาณ 2.3 การคัดเลือกตัวอย่างตามโควต้า 2.4 การคัดเลือกโดยให้ตัวอย่างแนะนำต่อๆ ไป

การประมวลผล การวิเคระห์และการแปลความหมายข้อมูล Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit การประมวลผล การวิเคระห์และการแปลความหมายข้อมูล 1. การประมวลผลข้อมูล 1.1 การตรวจสอบแก้ไขข้อมูล 1.2 การลงรหัสข้อมูล 1.3 การป้อนข้อมูล 1.4 การปรับข้อมูล 1.5 การออกแบบตาราง

1. การตรวจสอบแก้ไขข้อมูล Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit 1. การตรวจสอบแก้ไขข้อมูล * นับจำนวนแบบสอบถาม และเรียงลำดับหมายเลขแต่ละชุด * ตรวจสอบความสมบูรณ์และคัดแบบสอบถามที่ตอบไม่สมบูรณ์ ออก เช่น ตอบสับสน, ตอบหลายข้อ หรือคำตอบมีแนวโน้ม เป็นไปไม่ได้ เช่น เห็นด้วยหรือไม่กับการซื้อสินค้าที่มาจากต่าง ประเทศ คำตอบบอกว่าไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง แต่พอถามว่าจะซื้อ สินค้าจากต่างประเทศหรือไม่ ก็ตอบว่าจะซื้อ เป็นต้น

* คำถามแบบปิด สามารถใส่รหัสได้ตรงตัว ส่วนใหญ่จะเริ่ม จากเลข 1 Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit 2. การลงรหัสข้อมูล * คำถามแบบปิด สามารถใส่รหัสได้ตรงตัว ส่วนใหญ่จะเริ่ม จากเลข 1 * คำถามปลายเปิด เช่น ข้อเสนอแนะ หรือหัวข้ออื่นๆ ให้ทำ การจัดหมวดหมู่หัวข้อที่ตอบ แล้วจึงค่อยใส่รหัส * ถ้าตอบได้มากกว่า 1 ข้อ ให้ใส่รหัส 0 และ 1 * คำถามที่คนตอบข้าม หรือไม่ตอบ ให้ใส่รหัส เป็น 99 หรือ 999 หรือตัวเลขไม่ได้ลงรหัสทั่วไป

* สามารถป้อนข้อมูลเข้าโปรแกรม SPSS ได้เลย 4. การปรับข้อมูล Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit 3. การป้อนข้อมูล * สามารถป้อนข้อมูลเข้าโปรแกรม SPSS ได้เลย 4. การปรับข้อมูล * หากข้อสอบถามของเราข้อไหนไม่มีคนตอบให้ตัดทิ้งหรือลด ขนาดความถี่นั้นได้เลย เช่น ถ้าช่วง น้อยกว่า 16 ไม่มี มีตั้งแต่ 16 ขึ้นไป แสดงว่าต้องปรับข้อมูลโดยเริ่มที่ตั้งแต่ 16 ขึ้นไป เป็นต้น * ใช้วิธีถ่วงน้ำหนัก ให้กับแบบสอบถามที่มีน้ำหนักของตัวแปรที่ ไม่เท่ากัน

ตารางแจกแจงความถี่ของปัจจัยแต่ละตัว Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit 5. การออกแบบตาราง เพศ จำนวน ร้อยละ หญิง 120 60 ชาย 80 40 รวม 200 100 ตารางแจกแจงความถี่ของปัจจัยแต่ละตัว

ตารางแจกแจงความสัมพันธ์ของข้อมูล (Cross Tabulation) Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit ตารางแจกแจงความสัมพันธ์ของข้อมูล (Cross Tabulation) รายการ เคย ไม่เคย รวม % เพศ หญิง 30 50 120 60 ชาย 70 50 80 40 รวม 100 100 200 100

2. การวางแผนการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งเป็น 2 ประเภท Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit 2. การวางแผนการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งเป็น 2 ประเภท 1. การวิเคราะห์ข้อมูลแบบพรรณนา (Descriptive Analysis) 2. การวิเคราะห์ข้อมูลแบบอ้างอิงหรือขั้นสูง (Inferential Analysis)

ระเบียบวิธีการทางสถิติกับการวิเคราะห์ข้อมูลแบบพรรณนา Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit ระเบียบวิธีการทางสถิติกับการวิเคราะห์ข้อมูลแบบพรรณนา 1. การหาค่าสัดส่วนหรือร้อยละ เป็นการสรุปจำนวนของข้อมูลที่มีลักษณะเดียวกันหรือเท่ากัน ให้ออกมาในรูปของร้อยละ เช่น เพศหญิง 80 คน เพศชาย 120 คน รวม 200 คน คิดเป็น เพศหญิง 40% และเพศชายเป็น 60 % เป็นต้น

2. การวัดค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit 2. การวัดค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง * ค่าเฉลี่ย : เป็นการหาค่าเฉลี่ยของข้อมูล โดยนำข้อมูลทุกตัวมา รวมกัน แล้วทำการหารด้วยจำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ก็จะได้ค่ากลาง ออกมา เช่น ค่าเฉลี่ยของยอดซื้อของผู้บริโภคแต่ละคน * ค่าเฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนัก : เป็นวิธีที่คล้ายกับวิธีเฉลี่ย แต่จะต่าง กันตรงที่มีการให้น้ำหนักอยู่ด้วย เช่น การถามถึงทัศนคติ โดยจะมีการ กำหนดขอบเขตค่าเฉลี่ยของข้อมูลไว้ด้วย

ทัศนคติ (X) จำนวนผู้เลือก (W) (W)(X) 5. สำคัญมากที่สุด 20 100 Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit ทัศนคติ (X) จำนวนผู้เลือก (W) (W)(X) 5. สำคัญมากที่สุด 20 100 4. สำคัญมาก 25 100 3. สำคัญปานกลาง 30 90 2. ไม่สำคัญ 15 30 1. สำคัญที่สุด 10 10 รวม 100 330 ทัศนคตินี้จึงมีค่า = 330/100 = 3.3 อยู่ในระดับสำคัญปาน กลางจนถึงมาก

* การทดสอบมีเครื่องมือหลายอย่าง แต่ทิ่นิยมคือ ค่าไคสแควร์ Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit การทดสอบสมมุติฐาน * การทดสอบมีเครื่องมือหลายอย่าง แต่ทิ่นิยมคือ ค่าไคสแควร์ 3. การแปลความหมายและสรุป การแปลความหมาย * ต้องปราศจากอคติ * ต้องแปรตามตัวเลขหรือสถิติที่แสดงไว้ * ถ้าพบว่าสมมติฐานกับข้อเท็จจริงแตก ต่างกัน ก็ต้องระบุไว้ด้วย การสรุปผล * เป็นการย่อถึงผลการวิจัยทั้งหมด

การเสนอรายงานวิจัยทางการตลาด * รายงานผ่านรายงานวิจัย Consumer Behavior (MK 321) A. Sasiprapa Chaiprasit การเสนอรายงานวิจัยทางการตลาด * รายงานผ่านรายงานวิจัย * รายงานผ่านการนำเสนอข้อมูลต่อผู้บริหาร - ต้องกระชับ สั้น แต่ได้ใจความ - ต้องมีส่วนที่สรุปหรือเสนอแต่งานที่แน่ใจว่า เป็นเนื้อหาจริง ๆ