วิชากฏหมายทะเล (The Law of the Sea)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
หลักและทฤษฏีกฎหมายมหาชน
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
อาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone)
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
นางหทัยรัตน์ หงษ์ทอง ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายบริหาร และพิธีการบิน.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ผู้รับประกัน (Insurer) ผู้เอาประกัน (Insured) ผู้รับผลประโยชน์ (Beneficiary)
สรุป การเมืองการปกครองท้องถิ่น ไทย POL 341 ผศ. ดร. ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร คณะรัฐศาสตร์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
สาเหตุที่ต้องมีพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
อำนาจสืบสวน สอบสวน (มาตรา 17-21)
คดีฟ้องให้ประกาศใช้ผังเมืองรวม จังหวัดสระบุรี
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
ขดลวดพยุงสายยาง.
จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชากฏหมายทะเล (The Law of the Sea) Jurisdiction of State over the Maritime Zones เขตอำนาจของรัฐเหนือเขตทางทะเล โดย อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา Email: nawaporn.sa@cmu.ac.th

เขตอำนาจของรัฐเหนือเขตทางทะเล (Jurisdiction of State over the Maritime Zones)

สิทธิหน้าที่ของรัฐในอาณาเขตทางทะเล (Jurisdiction of State over the Maritime Zones) เขตอำนาจของรัฐในเขตทางทะเลต่างๆจะแบ่งเป็น - เขตอำนาจของรัฐชายฝั่ง (อันประกอบไปด้วยสิทธิและหน้าที่) และ - สิทธิของรัฐ(อื่น)ในเขตทางทะเล (อันอาจประกอบไปด้วยสิทธิในการใช้ทะเลและหน้าที่อันพึงมีต่อรัฐชายฝั่ง) โดยจะกล่าวถึงเขตอำนาจของรัฐชายฝั่งและสิทธิของรัฐอื่นในเขตทางทะเลต่อไปนี้ น่านน้ำภายใน (Internal water) ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) ช่องแคบ (Straits) น่านน้ำหมู่เกาะ (Archipelagic waters) เขตต่อเนื่อง (Contiguous Zone) เขตเศรษฐกิจจำเพาะ (Exclusive Economic Zone) ไหล่ทวีป (Continental Shelf) ทะเลหลวง (High Sea)

ความหมายของน่านน้ำภายใน (Definition of Internal water) น่านน้ำภายใน (Internal Water) คือน่านน้ำบริเวณที่อยู่ภายในเส้นฐานไปทาง แผ่นดิน (Water column within the Landward side) น่านน้ำภายในรวมไปถึงอ่าว แม่น้ำและปากแม่น้ำ ทะเลสาบ ท่าเรือ ที่ทอดจอดเรือ เป็นต้น Internal Water Sovereignty Sovereign Rights Territorial Sea (TS)

น่านน้ำภายใน (Internal Water) Article 8 Internal waters ‘1. Except as provided in Part IV, waters on the landward side of the baseline of the territorial sea form part of the internal waters of the State. Where the establishment of a straight baseline in accordance with the method set forth in article 7 has the effect of enclosing as internal waters areas which had not previously been considered as such, a right of innocent passage as provided in this Convention shall exist in those waters.’ น่านน้ำภายใน คือ “น่านน้ำทางด้านแผ่นดินของเส้นฐานแห่งทะเลอาณาเขตประกอบเป็นส่วน หนึ่งของน่านน้ำภายในรัฐ” (ข้อ 8. (1)) หากมีการกำหนดเส้นฐานตรงตามข้อ 7. “ให้สิทธิการผ่านโดยสุจริต ...มีอยู่ในน่านน้ำเหล่านั้นต่อไป” (ข้อ 8. (2))

น่านน้ำภายใน (Internal Water)

น่านน้ำภายในเส้นฐานตรง (Internal Water within the Straight baseline)

เขตอำนาจของรัฐเหนือน่านน้ำภายใน (Jurisdiction of State over the Internal Water) โดยหลักรัฐย่อมมีอำนาจอธิปไตย (Sovereignty) เหนือน่านน้ำภายใน UNCLOS (A. 8) เช่นเดียวกับที่รัฐมีอำนาจอธิปไตยเหนือดินแดน (Territory) และรวมไปถึงอากาสเหนือ ดินแดน (Airspace) ด้วย การที่เรือของรัฐอื่นจะผ่านเข้ามาในเขตน่านน้ำภายในต้องเป็นการใช้ สิทธิการผ่านตามกฏหมายระหว่างประเทศ ได้กำหนดว่าเรือของรัฐอื่นสามารถผ่านน่านน้ำ ภายในหากเป็นการผ่านโดยสุจริต (Innocent Passage) UNCLOS (A.17-19) การผ่านเข้าน่านน้ำภายในเกิดขึ้นในกรณี เข้าจอดเรือที่ท่าเรือ โดยรัฐชายฝั่งเป็นผู้กำหนด กฏหมายควบคุมระเบียบการเข้าจอดได้เพราะเป็นการใช้อำนาจอธิปไตยเหนือดินแดน

สิทธิของรัฐอื่นในน่านน้ำภายใน (Right of Other States in the Internal Water) เรือสินค้า โดยปกติจะยอมให้เรือสินค้าเทียบท่าภายใต้กฏหมายที่รัฐชายฝั่งกำหนด ตามหลักแห่งการต่างตอบแทน (Reciprocity) ตามหลัก Customary International Law เรือรบ หรืออากาศยานจะต้องได้รับอนุญาตจากรัฐชายฝั่งก่อน จึงจะสามารถเข้าได้ เว้นแต่มีสนธิสัญญาหรือข้อตกลงอย่างอื่น ยกเว้นกรณีฉุกเฉิน ทุกขภัย หรือเหตุสุดวิสัย เรือของรัฐอื่นสามารถเข้าไปใน น่านน้ำภายในได้โดยไม่ต้องขออนุญาต กรณีน่านน้ำภายในเส้นฐานตรง เรือของรัฐอื่นสามารถผ่านเข้าไปได้โดยต้องเป็น การผ่านโดยสุจริต (Innocent Passage) UNCLOS (A.8 (2))

ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea)

ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) ทะเลอาณาเขตมีความกว้างไม่เกิน 12 ไมล์ทะเล นับจากเส้นฐาน (Baseline) UNCLOS (A.3) CTSCZ 1958 : ไม่ได้มีการกำหนดถึงเรื่องของความกว้างของทะเลอาณาเขตเอาไว้ว่าเป็นระยะทาง เท่าใด กรณีทะเลอาณาเขตของรัฐที่มีชายฝั่งหรือทะเลอาณาเขตประชิดกันอาจมีความตกลงตาม สนธิสัญญาที่แตกต่างไปได้ หากไม่มีความตกลงรัฐทั้สองฝั่งไม่สามารถขยายทะเลอาณาเขตเลย เส้นมัธยะ (เส้นที่อยู่กึ่งกลางระหว่างทะเล) ซึ่งจุดทุกจุดบนเส้นนั้นจะห่างเท่ากันจากจุดที่ใกล้ ที่สุดบนเส้นฐานของรัฐชายฝั่งทั้งสอง ยกเว้นมีเหตุผลหรือสถานการณ์พิเศษตามสิทธิทาง ประวัติศาสตร์ UNCLOS (A.15)

เขตอำนาจของรัฐเหนือทะเลอาณาเขต (Jurisdiction of State over the Territorial Sea) ตาม UNCLOS (A. 2(1),(2)) รัฐชายฝั่งมีอำนาจอธิปไตย ๑) เหนือทะเลอาณาเขต ๒) เหนือห้วงอากาศเหนือทะเลอาณาเขต ๓) เหนือพื้นดินท้องทะเล (Sea-bed) และ ๔) ดินใต้ผิวดิน (Subsoil) แห่งทะเลอาณาเขต ดังนั้น บรรดากฎหมายทั้งหลายที่ออกโดยรัฐชายฝั่งจึงมีผลใช้บังคับในบริเวณดังกล่าวด้วย แต่ รัฐอื่นมีสิทธิผ่านโดยสุจริต (Innocent Passage) ในทะเลอาณาเขตเป็นข้อยกเว้น

สิทธิของรัฐอื่นในทะเลอาณาเขต เรือของรัฐอื่นๆ (รัฐชายฝั่ง และรัฐไร้ชายฝั่ง) สามารถใช้สิทธิในการผ่านโดยสุจริต (Right of Innocent Passage) ได้ การผ่าน คือ การเดินเรือผ่านทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่ง UNCLOS (A.18) เพื่อ (1) ผ่านเข้าไปในเขตแต่ไม่ได้เข้าไปในน่านน้ำภายในหรือจอดแวะ ณ ที่จอดเรือ(Roadstead) นอกน่านน้ำภายใน (2) ผ่านเข้าหรือออกจากน่านน้ำภายในโดยจอดแวะ ณ ที่จอดเรือหรือที่อำนวยความสะดวก ของท่าเรือ โดยจะต้องผ่านอย่าง “ต่อเนื่อง” (Continuous) และ “ไม่ชักช้า” (Expeditious) เว้นแต่มีเหตุฉุกเฉิน

สิทธิของรัฐอื่นในทะเลอาณาเขต ความหมายของคำว่าการผ่านโดยสุจริต (Innocent Passage) UNCLOS A.19(1) ผ่านไปโดยไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อสันติภาพ ความสงบเรียบร้อยหรือความมั่นคงของรัฐชายฝั่ง การ กระทำที่เป็นปฏิปักษ์ เช่น (1) คุกคามหรือใช้กำลังอันเป็นปฏิปักษ์ต่ออธิปไตย (2) ทำการซ้อมอาวุธหรือทำการฝึกอาวุธ (3) รวบรวมข้อมูลอันเป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐชายฝั่ง (4) โฆษณาอันจะกระทบกระเทือนต่อความมั่นคง (5) นำขึ้นหรือปล่อยลงซึ่งอากาศยานใด

ความหมายของคำว่าการผ่านโดยสุจริต (ต่อ) (6) นำขึ้นหรือปล่อยลงซึ่งยุทโธปกรณ์ทางทหาร (7) ทำการขนถ่ายโภคภัณฑ์ เงินตรา บุคคล อันฝ่าฝืนกฎหมายของรัฐชายฝั่งว่าด้วยศุลกากร รัษฎากร การเข้าเมือง สุขาภิบาล (8) จงใจก่อให้เกิดมลภาวะอย่างร้ายแรงในเขต (9) ทำการประมงในในทะเลอาณาเขต (10) ทำการวิจัยหรือสำรวจ (11) ทำการแทรกแซงระบบสื่อสารของรัฐชายฝั่ง (12) การกระทำอื่นๆ อันไม่เกี่ยวโดยตรงกับการใช้สิทธิผ่าน

ข้อจำกัดของการใช้สิทธิการผ่านโดยสุจริต UCLOS (A. 21) รัฐชายฝั่งอาจออกกฎหมายหรือข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการใช้สิทธิผ่านโดยสุจริตของเรือต่างชาติได้ใน เรื่อง ดังนี้ ความปลอดภัยในการเดินเรือและการสัญจรทางทะเล การคุ้มครองเครื่องช่วยเหลือและสิ่งอำนวยความสะดวกในการเดินเรือ การคุ้มครองสายเคเบิลและท่อใต้ทะเล การอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีชีวิตในทะเล การป้องการการฝ่าฝืนในเรื่องการประมง การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการป้องกัน ลด และควบคุมมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ การป้องกันการฝ่าฝืนกฎหมายและข้อบังคับเกี่ยวกับศุลกากร

ข้อจำกัดของการใช้สิทธิการผ่านโดยสุจริต UCLOS (A. 21) (ต่อ) การผ่านโดยสุจริตของเรือดำน้ำ UNCLOS (A. 20) ต้องบนผิวน้ำและแสดงธง การกำหนดช่องเดินเรือ (Sea Lanes) เพื่อเหตุผลด้านความปลอดภัย และด้านการแบ่งแนวจราจรทางทะเล UNCLOS (A.22) กรณีเรือพลังนิวเคลียร์และบรรทุกสารนิวเคลียร์หรือสารอันตรายอื่นๆ จะต้องมีเอกสารและปฏิบัติตาม มาตรป้องกันอย่างเคร่งครัด UNCLOS (A. 23) รัฐชายฝั่งอาจระงับชั่วคราวซึ่งการใช้สิทธิผ่านโดยสุจริตของเรือต่างชาติได้ หากการระงับนั้นจำเป็นเพื่อ การรักษาความมั่นคงของตนรวมไปถึงการซ้อมอาวุธ โดการระงับจะมีผลเมื่อได้มีการประกาศให้ทราบ ตามสมควร UNCLOS (A. 25 (3))

หน้าที่ของรัฐชายฝั่ง (Duties of Coastal States) รัฐชายฝั่งไม่สามารถขัดขวางการผ่านโดยสุจริตตามอนุสัญญาได้ UNCLOS (A.24 (1)) รัฐชายฝั่งไม่สามารถกำหนดกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการออกแบบ การสร้างและการจัดบุคลากร หรือเครื่องมือเครื่องใช้บนเรือต่างชาติได้ เพราะจะทำให้มีผลในทางปฏิบัติเป็นการเสื่อมเสีย สิทธิการใช้สิทธิการผ่านโดยสุจริต UNCLOS (A.24 (1)) รัฐชายฝั่งต้องแจ้งถึงความเหมาะสมหรืออันตรายต่อการเดินเรือที่ตนทราบภายในทะเลอาณา เขต UNCLOS (A.24 (2)) รัฐชายฝั่งไม่สามารถเรียกเก็บค่าผ่านทางได้ แต่อาจเก็บค่าบริการเฉพาะอย่างที่ได้ให้แกเรือ โดยไม่เลือกปฏิบัติ UNCLOS (A.26)

หน้าที่ของรัฐอื่นในการใช้สิทธิผ่านโดยสุจริต ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของรัฐชายฝั่งที่กำหนดเกี่ยวกับการใช้สิทธิผ่านโดยสุจริต ของเรือต่างชาติ UNCLOS (A. 19) และต้องปฏิบัติตามกฎหมายระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุจากเรือโดนกันด้วย UNCLOS (A. 21) กรณีเรือขับเคลื่อนด้วยปรมาณูหรือทุกสารปรมาณู จะต้องมีเอกสารประจำเรือ และเคารพมาตรการป้องกันพิเศษที่กำหนดไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ด้วย UNCLOS (A. 23)

ข้อสังเกตเกี่ยวกับการใช้สิทธิการผ่านโดยสุจริต การใช้สิทธิผ่านโดยสุจริตในทะเลอาณาเขตนั้น จะมีเฉพาะแต่ “เรือต่างชาติ” เท่านั้น โดยไม่ได้หมายความรวมถึง “อากาศยานต่างชาติ” ด้วย ซึ่งจะแตกต่างกับการใช้สิทธิ ผ่านช่องแคบที่จะรวมถึงอากาศยานต่างชาติด้วย เรือทุกประเภท (เรือรบและเรือดำน้ำ) มีสิทธิผ่านโดยสุจริตแต่ต้องปฏิบัติตาม กฎหมายภายในของรัฐชายฝั่งที่ได้กำหนดไว้ตามแต่ประเภทและกิจกรรมของเรือ นั้นๆ เรือดำน้ำ เมื่อใช้สิทธิผ่านโดยสุจริต จะต้องลอยอยู่บนผิวน้ำและแสดงธงด้วย CLOS A.20

ผลของการใช้สิทธิการผ่านโดยไม่สุจริต รัฐชายฝั่งอาจกระทำการเพื่อป้องกันการผ่านโดยไม่สุจริตดังกล่าวได้ เช่น อาจปฏิเสธไม่ให้เรือต่างชาติ ผ่านทะเลอาณาเขตของตนหรือจับกุมเรือดังกล่าว UNCLOS (A. 25) กรณีที่เป็นเรือรบ (รวมถึงเรือดำน้ำ) ของรัฐต่างชาติที่มีเครื่องหมายแสดงสัญชาติอย่างชัดแจ้งมีทหาร บังคับการอย่างถูกต้อง UNCLOS (A. 29) แม้รัฐชายฝั่งจะไม่สามารถจับกุมเรือรบดังกล่าวได้ (เนื่องจากมี Immunity) จากเขตอำนาจของรัฐชายฝั่ง UNCLOS (A. 32) แต่รัฐชายฝั่งก็อาจขอให้เรือรบดังกล่าวออกจากเขตได้โดยทันที UNCLOS (A. 30) หากไม่ปฏิบัติตามกฏหมายหรือข้อบังคับของรัฐชายฝั่ง รัฐเจ้าของธงต้องรับผิดชอบต่อรัฐชายฝั่งในความ เสียหายที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการไม่ปฏิบัติตามดังกล่าว UNCLOS (A. 31)

เขตอำนาจของรัฐชายฝั่งเหนือการกระทำของเรือ หรือบนเรือต่างชาติในทะเลอาณาเขต เขตอำนาจทางอาญาของรัฐชายฝั่งเหนือการกระทำบนเรือต่างชาติ เขตอำนาจทางแพ่งของรัฐชายฝั่งเหนือเรือต่างชาติ

ช่องแคบ Straits