เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2550
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเป็นเสือนั้นไม่สำคัญ สำคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจ แบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกันนั้น หมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ให้มีพอเพียงกับตัว อันนี้ก็เคย ความพอเพียงนี้ไม่ได้หมายความว่า ทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัวเอง จะต้องทอผ้าใช้เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอำเภอ จะต้องมีความพอเพียงสมควร บางสิ่งบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไหร่ ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก
รูปธรรมสู่การปฏิบัติ เศรษฐกิจพอเพียง นามธรรม รูปธรรมสู่การปฏิบัติ การจัดการความเสี่ยง Risk Management ความพอประมาณ การจัดการและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในการพึ่งตนเอง ความมีเหตุผลหรือการใช้ปัญหาในการแก้ไขปัญหา
การมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Sustainability) การสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวเอง ครอบครัว องค์กร และชุมชน และมีรายได้ที่มีเสถียรภาพ (Income Stability) ความรู้ ภูมิคุ้มกัน ความพอดี ความพอประมาณ เป็นรากฐานสำคัญของ “เศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ทางสายกลาง - ความพอเพียง เงื่อนไขคุณธรรม (ซื่อสัตย์ - มีคุณธรรม) มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี มีเหตุผล เงื่อนไขชีวิต (ขยัน-อดทน-สติ-ปัญญา) พอประมาณ เงื่อนไขหลักวิชา (ใช้หลักวิชาวางแผน ปฏิบัติ) นำไปสู่ สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง:ความพอเพียง โครงสร้าง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง:ความพอเพียง ความพอประมาณ - ความพอดี ยืนบนชาของตนเอง ความพอประมาณ - รอบคอบ มองระยะยาวคำนึง ความเสี่ยง การมีภูมิคุ้มกัน - เตรียมรับ กับการเปลี่ยนแปลง สร้างภูมิคุ้มกัน
สามห่วงสองเงื่อนไข สรุปได้ สามห่วงสองเงื่อนไข สรุปได้ รอบรู้มีสติ รอบคอบ มีเหตุมีผล ซื่อสัตย์และพากเพียร ป้องกันความเสี่ยง
ท่านมีข้อคิดเห็นหรือ ข้อเสนอแนะบ้างไหม