บทที่ 2 แนวทางการวางแผนบริหารโครงการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
บทที่ 6 งบประมาณ.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
กลุ่มนโยบายและ แผน สพป. สท. 2 กลุ่มนโยบายและ แผน สพป. สท. 2.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ผลการประเมินระดับชาติและ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
MK201 Principles of Marketing
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
ความคิดในเชิงกลยุทธ์
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุมเชิงปฎิบัติการ การจัดทำแผนฯ
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 แนวทางการวางแผนบริหารโครงการ บทที่ 2 แนวทางการวางแผนบริหารโครงการ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ

ความหมายของการวางแผน มีผู้ให้ความหมายของการวางแผนไว้ดังนี้ ร็อบบินส์ หมายถึง การกำหนดวัตถุประสงค์ขององค์การ การวางกลยุทธ์เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์โดยมีแผนงานที่เป็นระดับชั้น(hierarchy of plans)ลดหลั่นและสอดคล้องกันไป พร้อมทั้งกิจกรรมที่สัมพันธ์กันทั้งวิธีการและเป้าหมาย สุภาพร พิศาลบุตร หมายถึง วิธีการตัดสินใจล่วงหน้า เพื่ออนาคตขององค์การให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่ต้องการ ซึ่งประกอบด้วยส่วนประกอบสำคัญ 2 ส่วน คือ ส่วนที่หนึ่งการกำหนดวัตถุประสงค์ และส่วนที่สอง การกำหนดแนวทางการกระทำ หรือแผนงานต่างๆ ที่จะนำมาปฏิบัติ เพื่อที่จะให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์เหล่านั้น สรุปได้ว่า การวางแผน หมายถึง กระบวนการการจัดการที่มีความเกี่ยวข้องกับวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง การตัดสินใจล่วงหน้าในการกำหนดเพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย และแนวทางในการปฏิบัติในอนาคต โดยที่การวางแผนจะเป็นกิจกรรมในกระบวนการจัดการที่ต้องปฏิบัติก่อนหน้าที่อื่น

ความสำคัญของการวางแผน การวางแผนเป็นหน้าที่ที่มีความสำคัญจากเหตุผลสำคัญ ช่วยให้เกิดความยืดหยุ่น ช่วยให้องค์การมีเป้าหมาย ช่วยให้เกิดการประสานงาน ช่วยทำให้การควบคุมทำได้ง่าย ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย

ความสำคัญของการวางแผน ความสำคัญของการวางแผนและแผนที่มีต่อการบริหารโครงการดังนี้ เป็นแนวทางปฏิบัติที่สำคัญ เป็นตัวกำหนดทิศทาง และความรู้สึกในเรื่องของความมุ่ง หมายสำหรับองค์การให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนได้รู้ ช่วยให้ผู้บริหารผู้ปฏิบัติงานมองไปในอนาคตและเห็น โอกาสที่จะแสวงประโยชน์หรือกระทำการต่างๆให้สำเร็จ ตามความมุ่งหมายได้ การตัดสินใจที่มีเหตุผล เป็นเรื่องการเตรียมการไว้ก่อนล่วงหน้า การวางแผนมีส่วนช่วยให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆ ได้ มาก การวางแผนเป็นตัวนำในการพัฒนาตามหลักการวางแผน

ประโยชน์ของการวางแผน ด้านการทำนายอนาคต ด้านข้อมูลและมีค่าใช้จ่าย ด้านการใช้ดุลยพินิจของผู้ปฏิบัติ ด้านการปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาวะแวดล้อม ด้านเวลา

คุณลักษณะของแผน การทำนายเหตุการณ์ในอนาคตล่วงหน้า การเปรียบเทียบกับผู้ที่ดีที่สุด การจัดตั้งหน่วยงานด้านการวางแผน ความยืดหยุ่น ความครอบคลุม ความคุ้มค่าใช้จ่าย ความชัดเจน ความเป็นพิธีการ ความปกปิด ความมีเหตุมีผลและความต่อเนื่อง

ความสัมพันธ์ของการวางแผน ความรับผิดชอบของนักบริหารระดับสูง นักบริหารระดับสูง เป็นผู้มีอำนาจในการตัดสินใจเรื่องต่างๆ กำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) กำหนดภารกิจ (Mission) กำหนดจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของกิจการโดยรวม (Goal) กำหนดกลยุทธ์หลักหรือกลยุทธ์สำคัญ (Grand strategies)

แมททริกซ์ทาวน์ (tows matrix) ปัจจัยภายใน (internal factors) ปัจจัยภายนอก (external factors) จุดแข็ง (Strengths = S) ระบุรายการจุดแข็งภายในจำนวน 5-10 ประเด็น ในช่องนี้ จุดอ่อน (Weaknesses= W) ระบุรายการจุดอ่อนภายในจำนวน 5-10 ประเด็น ในช่องนี้ โอกาส (Opportunities) ระบุรายการโอกาส จำนวน 5-10 ประเด็น ในช่องนี้ SO Strategies กำหนดกลยุทธ์ที่เน้นการเจริญเติบโตหรือการรุกไปข้างหน้า โดยใช้จุดแข็งไปประสานกับโอกาส WO Strategies กำหนดกลยุทธ์ที่เน้นการพัฒนาภายในหรือการตรึงกำลัง โดยใช้โอกาส มาปิดจุดอ่อนที่มีอยู่ ข้อจำกัด (Threats) ระบุรายการข้อจำกัด จำนวน 5-10 ประเด็น ในช่องนี้ ST Strategies กำหนดกลยุทธ์ที่เน้นการปรับตัวหรือการตั้งรับ รวมทั้งสร้างความร่วมมือโดยใช้จุดแข็งมาปะทะหรือหลบหลีกข้อจำกัด WT Strategies กำหนดกลยุทธ์ที่เน้นการถอนตัวหรือถอยหลัง โดยระมัดระวังหรือหลบหลีกทั้งจุดอ่อนและข้อจำกัด

ความสัมพันธ์ของการวางแผน ความรับผิดชอบของนักบริหารระดับกลาง กำหนดกลยุทธ์ของฝ่าย (Functional strategies) แปลงกลยุทธ์ของฝ่าย เป็นกลวิธี (Tactical or Action plans) โดยจะเป็นการ ดำเนินงานที่ครอบคลุมทั้งงานประจำ (Operations of Routine activities) งาน ชั่วคราวหรือโครงการ (Projects) การวางแผนในการประสานสัมพันธ์ระหว่างงานประจำกับงานโครงการ ในแผนก เดียวกันและระหว่างแผนก การกำหนดบรรทัดฐานที่จะเป็นประโยชน์ต่อการควบคุมและประเมินผลของนัก บริหารระดับต้น

ความสัมพันธ์ของการวางแผน ความรับผิดชอบของนักบริหารระดับต้น การจำแนกโครงสร้างงาน การกำหนดเวลาที่จะต้องใช้ในการดำเนินงานตามกิจกรรมที่วางไว้ การจัดสรรทรัพยากรให้แต่ละกิจกรรม การกำหนดตัวผู้รับผิดชอบ รวมทั้งอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและการจัดวางระบบการควบคุมที่เน้นทั้งในส่วนของการควบคุมทรัพยากร การควบคุม กระบวนการทำงาน และการควบคุมผลงานและผลลัพธ์ การกำหนดระบบและเวลาของการรายงาน ช่องทาง และวิธีการสื่อสาร 

ความสัมพันธ์ในการตัดสินใจของนักบริหารระดับต่าง ๆ  วิสัยทัศน์ ภารกิจ จุดมุ่งหมาย กลยุทธ์หลัก  นักบริหารระดับสูง  นักบริหารระดับกลาง  วัตถุประสงค์ วิธีการดำเนินงานงานประจำโครงการ นักบริหาร ระดับกลาง+ต้น แผนดำเนินงานประจำและโครงการ

การวางแผนบริหารโครงการในแนวทางระบบ เน้นการมองภาพระบบโดยรวม ทำให้การบริหาร โครงการคำนึงถึงความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกัน ทำให้การดำเนินงานของโครงการต้องมีการวาง แนวทางไว้อย่างดี ไม่ว่าจะเป็นการกำหนด วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน การกำหนดและจัดการระบบ ย่อยต่างๆ และการเชื่อมโยงระหว่างระบบย่อยนั้นๆ ทำให้โครงการต้องมีการควบคุมตลอดเวลาโดยระบบ ต้องจัดทำข้อมูลป้อนกลับ การพัฒนาข้อมูล และ การควบคุมกิจกรรมหรืองานโครงการหลาย ๆ ระดับ ทำให้มีการนำเทคนิคของระบบต่างๆ มาใช้อย่าง กว้างขวาง ได้แก่ การวิเคราะห์ระบบ วิศวกรรม ระบบ โครงสร้างการแยกแยะงาน และตัวแบบเลียน ของจริง

การส่งข้อมูลป้อนกลับ แนวทางระบบ สภาพแวดล้อม ระบบย่อย ระบบย่อย ปัจจัยนำเข้า ปัจจัยนำออก ระบบย่อย การส่งข้อมูลป้อนกลับ สภาพแวดล้อม

การวางแผนและวิเคราะห์โครงการ การกำหนดแนวคิด โครงการ วงจรโครงการของภาคเอกชน การวางแผนและวิเคราะห์โครงการ  ทำเองหรือจ้างเหมา มีความเหมาะสมและกำหนดรายละเอียด TOR การกำหนดแนวคิด โครงการ ลงทุน ตรวจรับ การยุติและส่งมอบ โครงการ การดำเนินงาน โครงการ ควบคุม มอบงานและปิดโครงการ  ทำเองหรือจ้างเหมา

วงจรโครงการของภาครัฐ 1. การวางแผนการประเมินและการจัดทำข้อเสนอโครงการ TOR มีความเหมาะสม 2. การคัดเลือก การอนุมัติ และการเตรียมความพร้อม นโยบาย การพัฒนา 4. การประเมินผลและการปรับปรุงแก้ไข ควบคุม ลงทุน 3. การปฏิบัติการ การควบคุม และการส่งมอบงาน

วางแผนและวิเคราะห์โครงการ การบริหารและการจัดการโครงการ ขั้นตอนในวงจรโครงการ (กำหนดแนวคิด) (เริ่มต้น) (ยุติโครงการ) (ปรับปรุง) ก ล ยุ ท ธ์ วางแผนและวิเคราะห์โครงการ การบริหารและการจัดการโครงการ การถ่ายโอนโครงการ ไปสู่งานประจำ ค่าใช้จ่าย การลงทุน ค่าใช้จ่ายและ ผลประโยชน์ 1 การริเริ่มโครงการ 2 การดำเนินงาน 3 อายุโครงการ 4

ระดับการบริหารโครงการ ฝ่าย จัดซื้อ จัดจ้าง เจ้าของ โครงก าร โครงการอื่น ๆ ฝ่าย สนับสนุน ด้าน การเงิน สภาพแวดล้อมด้านเศรษฐกิจ ระดับ 2 ประสานโครงการด้าน เทคนิคและเป็นส่วน เชื่อมระหว่างโครงการกับ สังคมภายนอก รัฐบาล ระดับ 3 รับผิดชอบด้านเทคนิค ของโครงการ กลุ่มในชุมชน ผู้แนะนำ ชักชวน ระดับ1 เชื่อมโยง โครงการ กับสังคม ภายนอก โครงการ ฝ่ายที่วางระเบียบกฎหมาย สื่อมวลชน สังคมภายนอก

ลักษณะการบริหารโครงการ ระดับภายนอกโครงการ นิยามโครงการ เตรียมกิจกรรมโครงการและบำรุงรักษาโครงการ เตรียมส่งมอบผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์หรือบริการ จัดโครงสร้างองค์การและระบบขององค์การโครงการ ให้เหมาะสมกับการบริหารโครงการและการ ดำเนินงานขององค์การแม่ของโครงการ สร้างความสัมพันธ์กับกลุ่มภายนอกโครงการที่ สำคัญๆ สร้างกำลังคนหรือบุคลากรซึ่งมีทักษะเหมาะสมกับ การบริหารโครงการ สร้างความเชื่อมั่นว่ากิจกรรมโครงการจะได้รับเงิน อุดหนุนอย่างเพียงพอ

ลักษณะการบริหารโครงการ ระดับภายในโครงการ นิยามโครงการ ออกแบบองค์การให้มาทำหน้าที่รับผิดชอบดำเนินงานโครงการ แก้ไขปัญหาและขจัดอุปสรรคที่มาจากสภาพแวดล้อมของโครงการ จัดหาสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวก การขนส่ง การ ติดต่อสื่อสาร และเครื่องมือเครื่องใช้

การเชื่อมโยงระบบย่อยของการบริหารโครงการ การเชื่อมโยงระบบย่อยแบบคงที่ (static interfaces) การเชื่อมโยงระบบย่อยแบบพลวัต (dynamic interfaces) การเชื่อมโยงของการบริหารระหว่างระบบย่อยของโครงการ เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการจะบรรลุผลสำเร็จได้ ต้องขึ้นอยู่กับการทำงาน ร่วมกันอย่างใกล้ชิดของกลุ่มต่างๆ สภาพแวดล้อมของโครงการซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีที่โครงการนำมาใช้ซับซ้อนหรือไม่แน่นอน กิจกรรมของโครงการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว กิจกรรมขององค์การซับซ้อน

ขอขอบคุณที่สนใจฟัง...