งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
Advertisements

Computer Programming for Engineers
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันโภชนาการ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันชีววิทยา ศาสตร์โมเลกุล ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเทคนิค การแพทย์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล หอสมุดและคลังความรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล บัณฑิต วิทยาลัย ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาล ศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันชีววิทยา ศาสตร์โมเลกุล ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การควบคุมงานก่อสร้าง ( การทดสอบวัสดุ ). หัวข้อการบรรยาย 1. การเจาะสำรวจชั้นดิน 2. การทดสอบแรงดึงของเหล็ก 3. การทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต หมายเหตุ : การบรรยายจะอ้างอิงแบบ.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ e- meeting วันศุกร์ที่ 20 เมษายน 2555.
จรรยาบรรณ ( Code of Ethic) กลุ่มบริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด R.X.Group ประกาศต่อผู้บริหารระดับสูง - ต้น 270 คน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2548 ณ S.D. Avenue Hotel.
การประเมินภาวะโภชนาการ และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom action Research
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
ที่มาของระบบคุณภาพ ISO 9000
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันโภชนาการ
แนวทางการคัดกรองภาวะซีดในเด็ก และการให้ยาเสริมธาตุเหล็ก ในคลินิกเด็กดี
หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย
แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การสำรวจและอธิบายข้อมูล
การกระจายอายุของบุคลากร
การจัดการผู้ป่วยรายกรณีเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง คลินิกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ นางกรรณิการ์
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ข้อสังเกตในการจัดทำผลงานทางวิชาการ
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
คะแนนและความหมายของคะแนน
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน
Miss. Teeranuch Sararat Teerapada Technological College
ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. พิเศษ 1/5 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
การกระจายอายุของบุคลากร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Don Bosco Banpong Technological College
Don Bosco Banpong Technological College
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
อาจารย์ ศิริรัตน์ หวังดี
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
การตัดเกรด อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
กระบวนการเรียนการสอน
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
การศึกษาความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
สถานการณ์ วิกฤติ 7 ระดับ
เทคนิคการทำวิจัยสถาบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านการเรียนรู้ในรายวิชากฎหมายคอมพิวเตอร์ โดยใช้แบบจำลองสถานการณ์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ห้องเรียนที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีอาชีวศึกษาเชียงราย ผู้จัดทำวิจัย นายจารุวิทย์ ปัญญาหาร ตำแหน่ง อาจารย์ผู้สอน

วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา กฎหมาย คอมพิวเตอร์ โดยใช้แบบจำลองสถานการณ์ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้องเรียนที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีอาชีวศึกษาเชียงราย โดย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนวิชา กฎหมาย คอมพิวเตอร์ โดยใช้แบบจำลองสถานการณ์

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น -การจัดการเรียนการสอนวิชากฎหมายคอมพิวเตอร์ โดยใช้แบบจำลอง สถานการณ์ กฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ตัวแปรตาม - ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาวิชากฎหมายคอมพิวเตอร์ เรื่องกฎหมายว่าด้วย การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ โดยการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อน เรียนและหลังเรียน - ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนวิชากฎหมายคอมพิวเตอร์ โดยใช้ แบบจำลองสถานการณ์ เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้องเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวนนักเรียน ทั้งหมด 16 คน

ตารางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คนที่ คะแนน ก่อนเรียน หลังเรียน คะแนนรวม 𝐱 S.D. 𝐃 1 12 20 32 16.00 5.66 8 2 10 16 26 13.00 4.24 6 3 15 21 31 15.50 4 23 39 19.50 4.95 7 5 11 17 28 14.00 9 24 12.00 13 30 15.00 2.83 27 13.50 3.54 คนที่ คะแนน ก่อนเรียน หลังเรียน คะแนนรวม 𝐱 S.D. 𝐃 10 17 25 42 21.00 5.66 8 11 16 26 13.00 4.24 6 12 18 29 14.50 4.95 7 13 24 40 20.00 14 15 23 11.50 19 31 15.50 12.50 3.54 5 11.94 18.31 29.94 14.97 4.51 6.38 2.72 3.34   ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชากฎหมายคอมพิวเตอร์ โดยใช้แบบจำลองสถานการณ์

ผลวิเคราะห์ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชากฎหมายคอมพิวเตอร์ โดยใช้ แบบจำลองสถานการณ์ โดยผลการทำแบบทดสอบหลังเรียนของนักเรียนมี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 18.31 และการทำแบบทดสอบก่อนเรียนของนักเรียนมี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 11.94 แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียน ซึ่งมีค่าเฉลี่ยผลต่างอยู่ที่ 6.38 โดยการกระจายของซึ่งค่า เบี่ยงเบนมาตรฐานก่อนเรียนมีค่าน้อยกว่าค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานหลังเรียน โดยเมื่อทำการเทียบค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจะพบว่าก่อนเรียนมีค่า เบี่ยงเบนส่วนมาตรฐานเท่ากับ 2.72 และหลังเรียนมีค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 3.34

ตารางแสดงผลความพึงพอใจ รายการประเมินความพึงพอใจ 𝝁 𝝈 ระดับความพึงพอใจ 1 แบบจำลองสถานการณ์มีความเข้าใจที่ง่าย 4.31 0.704 มาก 2 แบบจำลองสถานการณ์ช่วยให้เรียนวิชากฎหมายคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น 4.63 0.619 มากที่สุด 3 แบบจำลองสถานการณ์ได้จัดกิจกรรมที่สะดวกรวดเร็วและสนุกสนาน 4.32 0.602 4 แบบจำลองสถานการณ์ได้เสริมสร้างทักษะความรู้และความเข้าใจในกฎหมายคอมพิวเตอร์ 4.44 0.629 5 แบบจำลองสถานการณ์มีประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของนักเรียน 4.50 0.632 6 แบบจำลองสถานการณ์ทำให้นักเรียนทราบถึงความก้าวหน้าในการเรียน 7 แบบจำลองสถานการณ์ทำให้นักเรียนได้ทบทวนความรู้ 4.69 0.479 8 แบบจำลองสถานการณ์ทำให้นักเรียนเกิดความคิดและจินตนาการส่งผลให้จดจำกฎหมายคอมพิวเตอร์ได้ง่าย 0.730 9 นักเรียนมีความชื่นชอบและสนใจวิชากฎหมายคอมพิวเตอร์มากขึ้น 4.56 0.512 10 นักเรียนมีความชื่นชอบการเรียนการสอนโดยใช้แบบจำลองสถานการณ์ รวม 4.48 0.634 ตารางที่ 2 แสดงผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนในรายวิชา กฎหมายคอมพิวเตอร์ โดยใช้แบบจำลองสถานการณ์

ผลวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจที่มีต่อการ เรียนในรายวิชากฎหมายคอมพิวเตอร์ โดยใช้แบบจำลองสถานการณ์ ใน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.48 และค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.634

สรุปผลการวิจัย ผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านการเรียนรู้ในรายวิชากฎหมายคอมพิวเตอร์ โดยใช้แบบจำลองสถานการณ์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ห้องเรียนที่ 1 จำนวน 16 คน พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มสูงขึ้น เมื่อเทียบ กับการทำแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนส่งผลให้ภาพรวมอยู่ในระดับที่ดี เพราะมีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้วิธีการจำลองสถานการณ์เข้ามาช่วยให้ นักเรียนเกิดทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และจดจำ ทำให้เกิดการเรียน ที่มีความเข้าใจในรายละเอียดในเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ อีกทั้งส่งผลให้ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นโดยเมื่อเทียบกับก่อนเรียนที่มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 11.94 โดยที่ค่าเฉลี่ยหลังเรียนเพิ่มขึ้นซึ่งมีค่าเท่ากับ 18.31 ทำให้ คะแนนแบบทดสอบทั้งก่อนเรียนและหลังเรียนมีการกระจายของข้อมูล ซึ่งค่า เบี่ยงเบนมาตรฐานก่อนเรียนมีค่าน้อยกว่าค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานหลังเรียนโดย เมื่อทำการเทียบค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจะพบว่าก่อนเรียนมีค่าเบี่ยงเบนส่วน มาตรฐานเท่ากับ 2.72 และหลังเรียนมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.34

สรุปผลการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนวิชากฎหมาย คอมพิวเตอร์โดยใช้แบบจำลองสถานการณ์ ผลปรากฏว่าค่าเฉลี่ยของความ พึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับพอใจมาก ซึ่งเป็นสืบเนื่องมากจากการทำ แบบจำลองสถานการณ์ ทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และมีความสนุกสนาน ด้วยการจำลองลักษณะท่าทางการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัติว่า ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ส่งผลให้เกิดความ เข้าใจเนื้อหาในรายวิชาฯ อีกทั้งพัฒนาทักษะในด้านกระบวนการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ รวมถึงการสังเคราะห์ข้อมูล เพื่อนำไปใช้ในการสื่อสาร ให้เพื่อนร่วมชั้นเรียนและครูผู้สอนเข้าใจในเนื้อหาและรายละเอียดที่นักเรียน ได้รับมอบหมาย

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลการวิจัยไปใช้ 1. ครูผู้สอนต้องอธิบายทำความเข้าใจให้กับนักเรียนถึงหลักการ แนวทาง และกระบวนการการเรียนการสอนโดยใช้แบบจำลองสถานการณ์ก่อนทำการเรียน การสอน เพื่อให้นักเรียนเกิดความเข้าใจและปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง 2. ครูผู้สอนควรให้อิสระกับนักเรียน ในการคิด วิเคราะห์ ถึงลักษณะการ กระทำความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และให้นักเรียนทำหน้าที่ตามบทบาทสมมติที่ได้รับมอบหมาย พร้อมทั้งอธิบายถึง ลักษณะการกระทำความผิดและโทษที่ได้รับ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการ เรียนการสอนจากการสอนตามปกติ ก่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้นส่งผล ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะสำหรับการทำวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรพัฒนาแบบจำลองสถานการณ์ให้มีความหลากหลาย และใช้ สื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย เช่น การทำคลิปวีดีโอผ่านสื่อออนไลน์ เพื่อให้ผู้เรียนสะดวกในการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน

ขอจบการบรรยายเพียงเท่านี้ ขอบคุณครับ