โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ” วัชรีพร โอฬารกนก ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการศัตรูพืช กรมส่งเสริมการเกษตร
วัตถุประสงค์ 1 2 พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ สร้างความเข้มแข็งให้ เกษตรกร เพื่อให้สามารถ พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ตามความต้องการของ เกษตรกรเอง ด้วยการนำหลักการ ทฤษฎีและ แนวทางทรงงาน แก้ไขปัญหาด้านการเกษตรให้ เหมาะสมกับสภาพของท้องถิ่นและชุมชน 1 2
ตามความต้องการของเกษตรกร เป้าหมาย ดำเนินการ 77 จังหวัด 882 ศพก. ทุกอำเภอทั่วประเทศ เกษตรกรสมาชิก ศพก. และศูนย์เครือข่ายของ ศพก. รายบุคคล หรือ กลุ่มสมาชิก ดำเนินการด้วยตนเอง หรือขอรับสนับสนุน บางส่วนตามความจำเป็น ตามความต้องการของเกษตรกร 9,999 โครงการ /กิจกรรม
หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไข การพิจารณา (๙ ข้อ)
1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย เกษตรกรสมาชิก ศพก. และศูนย์เครือข่ายของ ศพก. รายบุคคล หรือ กลุ่มสมาชิก
2. ตามความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ตามความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมและ ได้รับความเห็นชอบจาก ศพก.
3. โครงการ/กิจกรรม ที่ เสนอ หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ต้องมาจากความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบจาก ศพก. 3. โครงการ/กิจกรรม ที่ เสนอ ดำเนินการอยู่แล้ว พัฒนาต่อยอด ดำเนินการได้เอง หน่วยงานต่างๆ ที่มีแผนในการ ดำเนินงานอยู่แล้ว โครงการ/กิจกรรมใหม่ที่ยังไม่ เคยดำเนินการมาก่อน
มีการตรวจสอบ โดยคณะกรรมการ ศพก. หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ต้องมาจากความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบจาก ศพก. 3. โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอเข้าร่วมอาจดำเนินการอยู่แล้วและกำลังพัฒนาต่อยอด ดำเนินการต่อไปได้เอง หรือเป็นโครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่มีแผนในการดำเนินงานอยู่แล้ว หรือเป็นโครงการ/กิจกรรมใหม่ที่ยัง ไม่เคยดำเนินการมาก่อนและจำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมต่างๆ ที่รับผิดชอบงานด้านนั้นๆ 4. เกษตรกรรับผิดชอบการ บริหารโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณเอง ด้วย ความถูกต้องและโปร่งใส มีการตรวจสอบ โดยคณะกรรมการ ศพก.
5. ชุมชนสามารถดูแลรักษา และ ใช้ประโยชน์ได้อย่าง ต่อเนื่องอย่างยั่งยืน หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ต้องมาจากความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบจาก ศพก. 3. โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอเข้าร่วมอาจดำเนินการอยู่แล้วและกำลังพัฒนาต่อยอด ดำเนินการต่อไปได้เอง หรือเป็นโครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่มีแผนในการดำเนินงานอยู่แล้ว หรือเป็นโครงการ/กิจกรรมใหม่ที่ยัง ไม่เคยดำเนินการมาก่อนและจำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมต่างๆ ที่รับผิดชอบงานด้านนั้นๆ 4. เกษตรกรรับผิดชอบการบริหารโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณเอง ด้วยความถูกต้องและโปร่งใส มีการ ตรวจสอบโดยคณะกรรมการ ศพก. 5. ชุมชนสามารถดูแลรักษา และ ใช้ประโยชน์ได้อย่าง ต่อเนื่องอย่างยั่งยืน
หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ต้องมาจากความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบจาก ศพก. 3. โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอเข้าร่วมอาจดำเนินการอยู่แล้วและกำลังพัฒนาต่อยอด ดำเนินการต่อไปได้เอง หรือเป็นโครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่มีแผนในการดำเนินงานอยู่แล้ว หรือเป็นโครงการ/กิจกรรมใหม่ที่ยัง ไม่เคยดำเนินการมาก่อนและจำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมต่างๆ ที่รับผิดชอบงานด้านนั้นๆ 4. เกษตรกรรับผิดชอบการบริหารโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณเอง ด้วยความถูกต้องและโปร่งใส มีการ ตรวจสอบโดยคณะกรรมการ ศพก. 5. ชุมชนสามารถดูแลรักษา และใช้ประโยชน์ได้อย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืน 6. สถานที่ดำเนินการ ควร เป็นสถานที่สาธารณะที่ได้รับ อนุญาตให้ใช้ อย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่า 3 ปี
เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลฯ ไม่เน้นการก่อสร้างอาคารและสิ่งก่อสร้าง หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ต้องมาจากความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบจาก ศพก. 3. โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอเข้าร่วมอาจดำเนินการอยู่แล้วและกำลังพัฒนาต่อยอด ดำเนินการต่อไปได้เอง หรือเป็นโครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่มีแผนในการดำเนินงานอยู่แล้ว หรือเป็นโครงการ/กิจกรรมใหม่ที่ยัง ไม่เคยดำเนินการมาก่อนและจำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมต่างๆ ที่รับผิดชอบงานด้านนั้นๆ 4. เกษตรกรรับผิดชอบการบริหารโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณเอง ด้วยความถูกต้องและโปร่งใส มีการ ตรวจสอบโดยคณะกรรมการ ศพก. 5. ชุมชนสามารถดูแลรักษา และใช้ประโยชน์ได้อย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืน 6. สถานที่ดำเนินการ ควรเป็นสถานที่สาธารณะที่ได้รับอนุญาตให้ใช้อย่างถูกต้องไม่น้อยกว่า 3 ปี 7. กรณีมีการใช้แรงงาน ให้ เกษตรกรสมาชิก/กลุ่มสมาชิกและ ชุมชนร่วมกับใช้แรงงาน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลฯ ไม่เน้นการก่อสร้างอาคารและสิ่งก่อสร้าง
8. มีความพร้อมที่จะดำเนินการได้ทันที และต้องแล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ต้องมาจากความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบจาก ศพก. 3. โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอเข้าร่วมอาจดำเนินการอยู่แล้วและกำลังพัฒนาต่อยอด ดำเนินการต่อไปได้เอง หรือเป็นโครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่มีแผนในการดำเนินงานอยู่แล้ว หรือเป็นโครงการ/กิจกรรมใหม่ที่ยัง ไม่เคยดำเนินการมาก่อนและจำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมต่างๆ ที่รับผิดชอบงานด้านนั้นๆ 4. เกษตรกรรับผิดชอบการบริหารโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณเอง ด้วยความถูกต้องและโปร่งใส มีการ ตรวจสอบโดยคณะกรรมการ ศพก. 5. ชุมชนสามารถดูแลรักษา และใช้ประโยชน์ได้อย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืน 6. สถานที่ดำเนินการ ควรเป็นสถานที่สาธารณะที่ได้รับอนุญาตให้ใช้อย่างถูกต้องไม่น้อยกว่า 3 ปี 7. กรณีมีการใช้แรงงาน ให้เกษตรกรสมาชิก/กลุ่มสมาชิกและชุมชนร่วมกับใช้แรงงาน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลฯ ไม่เน้นการก่อสร้างอาคารและสิ่งก่อสร้าง 8. มีความพร้อมที่จะดำเนินการได้ทันที และต้องแล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด
หลักเกณฑ์ ขอบเขตและเงื่อนไขการพิจารณา 1. ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องเป็นกลุ่มบุคคลเป้าหมาย 2. ต้องมาจากความต้องการของเกษตรกร ที่สอดคล้องกับการหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงาน โดยผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบจาก ศพก. 3. โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอเข้าร่วมอาจดำเนินการอยู่แล้วและกำลังพัฒนาต่อยอด ดำเนินการต่อไปได้เอง หรือเป็นโครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่มีแผนในการดำเนินงานอยู่แล้ว หรือเป็นโครงการ/กิจกรรมใหม่ที่ยัง ไม่เคยดำเนินการมาก่อนและจำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมต่างๆ ที่รับผิดชอบงานด้านนั้นๆ 4. เกษตรกรรับผิดชอบการบริหารโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณเอง ด้วยความถูกต้องและโปร่งใส มีการ ตรวจสอบโดยคณะกรรมการ ศพก. 5. ชุมชนสามารถดูแลรักษา และใช้ประโยชน์ได้อย่างต่อเนื่องอย่างยั่งยืน 6. สถานที่ดำเนินการ ควรเป็นสถานที่สาธารณะที่ได้รับอนุญาตให้ใช้อย่างถูกต้องไม่น้อยกว่า 3 ปี 7. กรณีมีการใช้แรงงาน ให้เกษตรกรสมาชิก/กลุ่มสมาชิกและชุมชนร่วมกับใช้แรงงาน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลฯ ไม่เน้นการก่อสร้างอาคารและสิ่งก่อสร้าง 8. มีความพร้อมที่จะดำเนินการได้ทันทีและต้องแล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด 9. ให้พิจารณาความเหมาะสมให้รอบด้าน เพื่อให้เกิดความสำเร็จย่างแท้จริงและยั่งยืน
9. แนวทาง/กิจกรรมตาม รอยเท้าพ่อ 9.1 การพัฒนา การจัดการและ ปรับปรุงแหล่งน้ำ 9.2 การพัฒนาดินและการปรับปรุงบำรุงดิน 9.3 การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 9.4 ความพออยู่ พอกิน พอใช้ และระบบนิเวศน์ 9.5 การพึ่งพาตนเอง 9.6 เกษตรทฤษฎีใหม่ 9.7 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 9.8 การพัฒนาอาชีพด้านการเกษตร 9.9 อื่นๆ
การบริหารโครงการ ศพก. เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนการดำเนินโครงการ/กิจกรรมปฏิบัติงานร่วมกันแบบประชารัฐ โดยบูรณาการทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องให้การดำเนินโครงการ/กิจกรรมเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน หน่วยงานรับผิดชอบ หน่วยงานหลัก : -กรมส่งเสริมการเกษตร หน่วยงานร่วม : -คณะอนุกรรมการพัฒนาเกษตรและสหกรณ์ ระดับจังหวัด - ทุกหน่วยในกระทรวงเกษตรฯ
การบริหารงบประมาณ ประมาณการวงเงิน 513,994,000 บาท ใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่มีภารกิจตรงตามที่เกษตรกรต้องการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ประมาณการวงเงิน 513,994,000 บาท 6.1 โครงการ/กิจกรรมละ 50,000 บาท วงเงิน 499.95 ล้านบาท เปลี่ยนแปลงรายการ/หมวดเงินงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 6.2 การบริหารโครงการใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของกรมส่งเสริมการเกษตร จำนวน 14,044,000 บาท
ขั้นตอนการดำเนินงาน 5. เริ่มดำเนินโครงการอย่างเป็นทางการ 1. จัดเวทีชุมชนสำรวจความต้องการและการเสนอโครงการ/กิจกรรม ศพก./ ศูนย์เครือข่าย ร่วมกับ สนง.กษอ. 2. รวบรวม วิเคราะห์และพิจารณาความเหมาะสม ความเป็นไปได้และความจำเป็นในการดำเนินงานของโครงการ/กิจกรรม 3. คัดเลือกและอนุมัติ ศพก. ละ 10-12 โครงการ/กิจกรรม คณะอนุกรรมการพัฒนาเกษตรและสหกรณ์ ระดับจังหวัด 1) สามารถดำเนินการได้เอง ไม่จำเป็นต้องใช้งบประมาณ 2) ปรับเปลี่ยนใช้งบประมาณ หน่วยงานมีอยู่แล้ว 3) ขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมจากส่วนกลาง *กลุ่ม 2) และ 3) ต้องขออนุมัติ ปรับเปลี่ยนรายการ และหมวดเงิน 4. เสนอกระทรวง ฯ และ กรมฯ ตามภารกิจโครงการ/กิจกรรม เพื่อดำเนินการ ปรับเปลี่ยนรายการและหมวดเงินงบประมาณ 5. เริ่มดำเนินโครงการอย่างเป็นทางการ
ระยะเวลา 5 - 25 25 - 28 พ.ย. ’59 พ.ย. ’59 29 พ.ย.’59 15 ธ.ค.’59 ขั้นตอนการดำเนินงาน 1. จัดเวทีชุมชนสำรวจความต้องการและการเสนอโครงการ/กิจกรรม 5 - 25 พ.ย. ’59 2. รวบรวม วิเคราะห์และพิจารณาความเหมาะสม ความเป็นไปได้และความจำเป็นในการดำเนินงานของโครงการ/กิจกรรม 3. อนุมัติ ศพก. ละ 10-12 โครงการ/กิจกรรม 25 - 28 พ.ย. ’59 1) สามารถดำเนินการได้เอง ไม่จำเป็นต้องใช้งบประมาณ 2) ปรับเปลี่ยนใช้งบประมาณ หน่วยงานมีอยู่แล้ว 3) ขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมจากส่วนกลาง 29 พ.ย.’59 4. เสนอกระทรวง ฯ และ กรมฯ ตามภารกิจโครงการ/กิจกรรม เพื่อดำเนินการ ปรับเปลี่ยนรายการและหมวดเงินงบประมาณ 15 ธ.ค.’59 5. เริ่มดำเนินโครงการอย่างเป็นทางการ
ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ มีโครงการ/กิจกรรม ตามความต้องการของเกษตรกรจำนวน ไม่น้อยกว่า 9,999 โครงการ/กิจกรรมตามรอยเท้าพ่อ และเกษตรกร ได้รับประโยชน์จากการดำเนินโครงการ/กิจกรรมไม่น้อยกว่า 999,900 ราย ผลลัพธ์ เกษตรกรสมาชิกและกลุ่มสมาชิก ศพก. หรือ เครือข่าย ศพก. ปฏิบัติตามหลักการ ทฤษฎี และแนวทางทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ฯ พระราชทานไว้ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนและเกิดการบูรณาการในรูปแบบประชารัฐ ก่อให้เกิดความเข้มแข็งในการดำเนินชีวิตแบบพึ่งพาตนเองได้และประกอบอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน ส่งผลต่อความผาสุขของเกษตรกรและสังคมอย่างยั่งยืน
15 ธันวาคม 2559 เพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อม เริ่มดำเนินโครงการ 9,999 โครงการตามรอยเท้าพ่อ เพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อม รำลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ เนื่องในพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลสตมวาร (100 วัน)