คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับโครงงานอิเล็กทรอนิกส์
Advertisements

โดย ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา
Chapter 3 Strategic Alignment Maturity
ระบบการจัดการคุณภาพทั่วทั้งองค์กร
Faculty of Public Health, Mahasarakham University, Thailand
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS Management Information System
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Processes)
Chapter 2 Software Process.
MIS: Pichai Takkabutr EAU การเติบโตของ ICT ส่งผลกระทบต่อ Organizational SECTORS 3 Sectors World Economy :- Real Sectors :- Hard Goods VS. Upstream.
รองศาสตราจารย์ชัยยศ สันติวงษ์
Health System Reform.
มหาวิทยาลัยวิจัยไทย : แนวคิด ประเด็นปัญหา ข้อเสนอแนะ และ บทบาทของนักวิชาชีพไทยใน ต่างประเทศต่อการพัฒนา วันชัย ดีเอกนามกูล คณะกรรมการอำนวย และ คณะกรรมการ.
Tawatchai Iempairote วันที่ 3 กรกฎาคม 2556
1 คต ๔๔๑ สรุปการจัดการ โครงการซอฟต์แวร์ คต ๔๔๑ สรุปการจัดการ โครงการซอฟต์แวร์ Royal Thai Air Force Academy : RTAFA Royal Thai Air Force Academy : RTAFA.
ถาวร ชลัษเฐียร ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การพัฒนากำลังแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ 14 ธันวาคม 2558 เสนอต่อ คณะกรรมการพัฒนาแรงงานและ.
การเขียนแบบ รายงาน การเยี่ยมสำรวจ นันทา ชัยพิชิตพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
WIND Work Improvement in Neighbourhood Development.
การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management).
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
ICT in KM 03: เทคโนโลยีสนับสนุนการทำงานร่วมกันเป็นทีม
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
บทที่ 2 การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
วิชา การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่ม ผลผลิต (Work Development with Quality Management.
Information Systems Development
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
Measuring Agility in Agile Software Development
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
Thai Quality Software (TQS)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
หมวด ๒ กลยุทธ์.
หมวด ๒ กลยุทธ์.
บทที่ 2 ภาพรวมกระบวนการ (A Generic View of Process)
(Smart Strategy Praboromarajchanok Institute: SSPI)
แนวทางการสร้าง Innovation Ecosystem ในมหาวิทยาลัย
การบริหารโครงการ ยุทธนา พรหมณี.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงการ
ทิศทางการบริหารจัดการยุทธศาสตร์งานอนามัยสิ่งแวดล้อม
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
ผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการขอตำแหน่งทางวิชาการ
ในการพัฒนาการจัดการเชิงกลยุทธ์
สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิชา กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต
นายสมชัย ชวลิตธาดา EKACHAI SCHOOl โรงเรียนเอกชัย
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
การขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
บทที่ 6 การบริหารและการวางแผนการผลิต
Selecting Research Topics for Health Technology Assessment 2016
Family assessment.
การบริหารทีมงานและภาวะผู้นำ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
ขอบเขตการบรรยาย การนำทฤษฎี ERM สู่การปฏิบัติ
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
วัตถุประสงค์การวิจัย
การควบคุม (Controlling)
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
การขนส่งกับการจัดการโลจิสติกส์ Transport and Logistics Management
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
การรายงานผลการดำเนินงาน
กรอบแนวคิดชุดวิจัย Cluster วัยเรียน
บทบาทของโลจิสติกส์ต่อเศรษฐกิจและสังคม
บทที่ 1 กลยุทธ์ของกระบวนการการพัฒนา ซอฟต์แวร์รายบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา การบริหารโครงการ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารโครงการ บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารโครงการ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ

ความเป็นมาของการบริหารโครงการ ในช่วงคริสต์ศักราช 1750 – 1850 ที่มีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ในช่วงทศวรรษ 1960 มีการเปลี่ยนแปลงด้านสภาวะแวดล้อมที่สามารถส่งผลกระทบต่อการบริหาร และกระตุ้นให้องค์การนำการบริหารโครงการมาใช้ในการดำเนินงานภาคธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรมและภาครัฐ ต่อมาในทศวรรษ 1970 และ 1980 การบริหารองค์การต่าง ๆ ต่างให้ความสำคัญของการเน้นคุณภาพของผลิตภัณฑ์และความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ตามลำดับ

การเปลี่ยนแปลงที่เป็นสาเหตุให้มีการนำการบริหารโครงการมาใช้อย่างแพร่หลาย ประการที่ 1 จากการคิดค้นสิ่งใหม่ ๆ ด้านเทคโนโลยีระดับสูง และการเผยแพร่ให้นำเทคโนโลยีมาใช้กันอย่างกว้างขวาง ทำให้กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ สั้นลงอย่างมากจนเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการบริหารในภาคอุตสาหกรรมและภาค พาณิชยกรรมอย่างรวดเร็ว ประการที่ 2 จากแรงกดดันด้านต้นทุนและกำไรส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตและการให้บริการเนื่องจากการผลิตผลิตภัณฑ์ใหม่ๆต้องอาศัยกระบวนการบริหารที่ยืดหยุ่นและฉับไว

การเปลี่ยนแปลงที่เป็นสาเหตุให้มีการนำการบริหารโครงการมาใช้อย่างแพร่หลาย ประการที่ 3 ในทศวรรษ 1990 การแข่งขันในการผลิตและบริการมีมากขึ้น องค์การจึงต้องปรับกลยุทธ์ โครงสร้าง และวัฒนธรรมขององค์การให้ยืดหยุ่นและมีความคล่องตัว เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในระดับประเทศและระดับระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์ภายใต้เวลาและงบประมาณที่กำหนด

กล่าวได้ว่า การเปลี่ยนแปลงจากสาเหตุดังกล่าว ทำให้องค์การต้องมีการปรับปรุงการดำเนินงาน ได้แก่ กลยุทธ์ โครงสร้าง และวัฒนธรรมขององค์การให้มีความยืดหยุ่น มีความคล่องตัวและตอบสนองการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ จึงส่งผลทำให้ระบบการวางแผนและการบริหารงานในลักษณะโครงการได้ถูกนำมาใช้เพื่อจัดการกับการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งสนับสนุนและส่งเสริมการวางแผนและการควบคุมการดำเนินงานทั่วไป ตลอดจนทำให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์ภายใต้เวลาและงบประมาณที่จำกัดขององค์การ

ความสำคัญของการบริหารโครงการ ความสำคัญของการบริหารโครงการ  การนำการบริหารโครงการมาใช้ในการดำเนินงานเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในองค์การและสังคมในปัจจุบัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้องค์การและสังคมบรรลุวัตถุประสงค์ที่พึงปรารถนาได้มากยิ่งขึ้นกว่าการใช้การบริหารทั่วไปซึ่งมีการบริหารงานประจำ จุดประสงค์พื้นฐานของการริเริ่มโครงการคือความต้องการในการบรรลุเป้าประสงค์ (Goals) โดยผู้บริหารต้องบูรณาการกิจกรรมทั้งหมดที่ต้องการเข้าด้วยกัน นอกจากนี้การบริหารโครงการยังได้นำมาใช้เพื่อการประสาน และควบคุมกิจกรรมที่มีความสลับซับซ้อนในการดำเนินงาน

สรุปได้ว่า การบริหารโครงการเป็นกิจกรรมที่ได้รับการจัดทำขึ้นเพื่อการนำไปใช้ให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ ทุกโครงการที่กำหนดขึ้นจะต้องมีความสอดคล้องและสนับสนุนแผนงานหลักขององค์การ มีการจัดเตรียม การกำหนดรูปแบบของการดำเนินงานไว้อย่างเป็นระบบ จะต้องมีผู้รับผิดชอบในการดำเนินการ รวมทั้งจะต้องได้รับการสนับสนุนและเอาใจใส่จากผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอและที่สำคัญโครงการจะต้องได้รับการตรวจสอบและประเมินผลอย่างจริงจัง

ความหมายของการบริหารโครงการ มยุรี อนุมานราชธน ให้ความหมายคำว่า “การบริหารโครงการ” หมายถึง กระบวนการในการดำเนินกิจกรรมด้วยวิธีการใหม่ ๆ ที่แตกต่างจากการบริหารงานประจำหรือการบริหารทั่วไป เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ภายใต้กรอบด้านหรืองบประมาณและเวลา วัตถุประสงค์ที่กำหนดอาจจะเป็นผลได้ที่เป็นการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพหรือทั้งสองอย่าง

กระบวนการบริหารโครงการ ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ ประการที่ 1 วัตถุประสงค์ของโครงการ (project objectives) ผลลัพธ์ที่คาดหวังว่าจะเกิดขึ้นเมื่อมีการดำเนินงานโครงการจนแล้วเสร็จ การบริหารโครงการสามารถเน้นวัตถุประสงค์ด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียวผู้บริหารโครงการเน้นวัตถุประสงค์ด้านเวลา ทั้งนี้เพราะวิธีการควบคุมเวลาโดยใช้โครงข่าย (network) อย่างเป็นระบบเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้เวลายังเป็นวัตถุประสงค์ที่มีความชัดเจนมากที่สุด

กระบวนการบริหารโครงการ ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ ประการที่ 2 กระบวนการบริหาร (management process) กระบวนการบริหารที่นำมาใช้ต้องสอดคล้องกับโครงการที่มีลักษณะเฉพาะกิจ แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการบริหารโครงการมีอยู่ 2 แนวทาง คือ แนวทางที่ 1 วงจรการแก้ไขปัญหา (problem – solving cycle) วางแผน ควบคุม ปัญหา จัดองค์การ นำไปปฏิบัติ

กระบวนการบริหารโครงการ ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ แนวทางที่ 2 วงจรการบริหารโครงการ (project management life cycle) ริเริ่ม เจริญเติบโต อิ่มตัว สลายตัว เวล า กระบวนก ารบริการ บริหาร

กระบวนการบริหารโครงการ ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ ประการที่ 3 ระดับการบริหารพื้นฐาน (fundamental levels) ผู้บริหารระดับบูรณาการหรือระดับสูงมีบทบาทในการกำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการให้สอดคล้องกันกับสภาพแวดล้อมขององค์การและโครงการ ส่วนผู้บริหารระดับกลยุทธ์หรือระดับกลางรับผิดชอบด้านการประสานกิจกรรมของโครงการกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการให้สามารถดำเนินงานไปได้ และส่วนผู้บริหารระดับยุทธวิธีหรือระดับล่างรับผิดชอบด้านการกำกับควบคุมการปฏิบัติงานเพื่อให้การผลิตผลิตภัณฑ์และการบริการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ระดับ 1 คือระดับบูรณาการ (integrative level) ระดับ 2 คือระดับกลยุทธ์ (strategic level) และระดับ 3 คือระดับยุทธวิธี (tactical level)

ระดับการบริหารโครงการมีบทบาทรับผิดชอบ ในการจัดการวัตถุประสงค์ของโครงการ ด้านที่ 1 การจัดการด้านขอบเขต การบริหารระดับ 1 กำหนดวิธีการนำโครงการไปปฏิบัติ และจัดสรรปัจจัยทางการบริหารต่าง ๆ ให้แก่โครงการ การบริหารระดับ 2 กำหนดแผนกลยุทธ์ที่ทำให้วัตถุประสงค์ของโครงการบรรลุผลสำเร็จ และการบริหารระดับ 3 กำหนดแผนยุทธวิธีขึ้นเพื่อทำให้แผนกลยุทธ์ในแต่ละด้านประสบความสำเร็จโดยทั่วไปการวางแผนในการบริหารระดับ 1 และ 2 มุ่งเน้นผลลัพธ์/ผลงาน ขณะที่ระดับ 3 มุ่งเน้นงาน

ระดับการบริหารโครงการมีบทบาทรับผิดชอบในการจัดการวัตถุประสงค์ของโครงการ ด้านที่ 2 การจัดการด้านองค์การ การบริหารระดับ 1 กำหนดรูปแบบองค์การโครงการโดยคำนึงถึงความสอดคล้องของกิจกรรมโครงการกับสภาพแวดล้อมของโครงการ การบริหารระดับ 2 รับผิดชอบแปลงวัตถุประสงค์ของโครงการให้เป็นแผนกลยุทธ์ของโครงการ และการบริหารระดับ 3 นำกลยุทธ์ไปปฏิบัติโดยจัดทำแผนยุทธวิธีขึ้น ด้านที่ 3 การจัดการด้านคุณภาพ ต้นทุนและเวลา ดำเนินการพร้อม ๆ กันไปในการบริหารทั้ง 3 ระดับ ดังนี้ ระดับ 1 เน้นคุณภาพ ระดับ 2 เน้นต้นทุน และระดับ 3 เน้นเวลา

การบริหารโครงการแนวทางโครงสร้าง วัตถุประสงค์ (การเปลี่ยนแปลงที่ เป็นผลได้)  โครงสร้างการแยกแยะผลลัพธ์ - ระดับบูรณาการ - ระดับกลยุทธ์  โครงสร้างการแยกแยะงาน - ระดับยุทธวิธี 1 ขอบเขต โครงสร้างการ แยกแยะองค์การ แผนภูมิ ความรับผิดชอบ 2 องค์การ  การประกันคุณภาพ  การควบคุมคุณภาพ  ทัศนคติ 5 เวลา 3 คุณภาพ  โครงข่าย  แผนภูมิแท่ง 4 ต้นทุน  โครงสร้างการแยกแยะต้นทุน  การควบคุมต้นทุน ซีพีเอ็ม/เพิร์ท ทีคิวเอ็ม ซี/เอสพีอีซี

ประเภทและคุณลักษณะเฉพาะของโครงการ ประเภทของโครงการ โครงการปรับปรุงหรือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ (Improvement Project) โครงการริเริ่มหรือนวัตกรรม (Innovative Project) โครงการวิจัยและพัฒนา (Research and Development Project)

ประเภทและคุณลักษณะเฉพาะของโครงการ ขอบข่ายของงาน มีองค์กร เกิดการเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์ ในการจัดการโครงการ ผู้บริหารและทีมงานโครงการต้องพร้อมที่จะเผชิญกับ ความไม่แน่นอนและความเสี่ยงต่าง ๆ เสมอ ในการจัดการโครงการผู้บริหารโครงการต้องคำนึงถึงข้อจำกัดด้านเวลา (Time) ค่าใช้จ่าย (Cost) และคุณภาพ (Quality) ตามที่กำหนดไว้ในเงื่อนไขของโครงการ จำเป็นต้องเน้นความสำคัญของการบูรณาการ (Integration) กับองค์การหลักหรือ หน่วยงานของเจ้าของโครงการ

ความแตกต่างระหว่างการบริหารโครงการกับการบริหารทั่วไป - มีลักษณะพิเศษ ไม่ซ้ำกับโครงการอื่นใด มีลักษณะการดำเนินงานแบบซ้ำๆ และเป็นกิจวัตร - มีระยะเวลาที่แน่นอน - มีระยะเวลาที่ไม่สิ้นสุด - เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่ เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป - สภาพการดำเนินงานไม่แน่นอน ไม่สม่ำเสมอ - สภาพการดำเนินงานเหมือนเดิม - ให้น้ำหนักแก่วัตถุประสงค์ด้านต่าง ๆ ไม่เท่ากันเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพเดิม - ให้ความสำคัญกับวัตถุประสงค์ด้านต่างๆเท่าๆกัน - กำหนดคณะทำงานชั่วคราว - กำหนดคณะทำงานขึ้นอย่างถาวร

ความแตกต่างด้านวัฒนธรรมของ การบริหารโครงการกับการบริหารทั่วไป - สภาพแวดล้อมของการดำเนินงานไม่คงที่ -สภาพแวดล้อมของการดำเนินงานเหมือนเดิม -การดำเนินงานที่ไม่เคยกระทำมาก่อน จึงมุ่งเน้นด้านประสิทธิผล - การดำเนินงานที่เคยกระทำมาก่อน จึงเน้นปรับปรุงสิ่งเดิม ๆ ที่กระทำเป็นประจำ -การดำเนินงานเน้นวัตถุประสงค์/เป้าหมาย โดยสมาชิกของทีมงานต้องรับผิดชอบในบทบาทของตนเองหลาย ๆ บทบาท -การดำเนินงานเน้นบทบาทที่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้า ซึ่งทำให้ผู้ปฏิบัติงานไม่คำนึงถึงวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานเมื่อลงมือปฏิบัติงาน -การดำเนินงานภายใต้ความเสี่ยงและความไม่แน่นอนเพื่อการบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์/เป้าหมาย เนื่องจากขาดประสบการณ์และเป็นการบริหารความเสี่ยง - การดำเนินงานที่เคยมีประสบการณ์จึงรู้สึกมั่นใจว่าจะสามารถประสบผลสำเร็จเช่นเดิมและเป็นการบริหารสถานภาพเดิม

ประโยชน์ของการบริหารโครงการ ประการที่ 1 ประโยชน์ต่อองค์การ ประการที่ 2 ประโยชน์ต่อบุคคล ประการที่ 3 ประโยชน์ต่อผู้รับบริการ

สวัสดี สวัสดีค่ะ