งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Family assessment.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Family assessment."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Family assessment

2 ครอบครัว คือ กลุ่มคนที่มารวมตัวกัน อาจไม่จำเป็นต้องมีความสัมพันธ์กันทางสายเลือด หรือ การแต่งงาน แต่ตกลงที่จะอยู่ร่วมกันและดูแลกันไปตลอด

3 ประเภทของครอบครัว ครอบครัวเดี่ยว (Nuclear Family)
ครอบครัวขยาย (Extended Family) ครอบครัวผสม (Reconstituted Family) ครอบครัวที่มีพ่อหรือแม่เพียงคนเดียว (Single-Parent Family)

4 คุณสมบัติของระบบครอบครัว
ครอบครัวเป็นระบบเปิดทางสังคมและวัฒนธรรม (Open Socio Cultural System) ครอบครัวมีการเปลี่ยนแปลง (Transformation) ครอบครัวมีการจัดระบบภายในเพื่อความสมดุจ (Homeostasis) ครอบครัวมีการสื่อสาร (Communication) ครอบครัวที่มีกฎที่สมาชิกต้องถือปฏิบัติ (Rules of family) ครอบครัวมีขอบเขตของตนเอง (Boundaries)

5 การทำหน้าที่ของครอบครัว
การช่วยแก้ปัญหา (Problem Solving) การสร้างการสื่อสาร (Communication) การกำหนดบทบาท (Role) การตอบสนองต่ออารมณ์ (Affective Responsiveness) ความผูกพันทางอารมณ์ (Affective Involvement) การควบคุมพฤติกรรม (Behavior Control)

6

7 วงจรชีวิตครอบครัว (Family Life Cycle)

8 ระยะที่ 1 เริ่มสร้างครอบครัว วัยผู้ใหญ่ตอนต้น
ระยะที่ 1 เริ่มสร้างครอบครัว วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ภารกิจ : แยกตัวจากครอบครัวเดิมอุทิศตนให้กับครอบครัวใหม่ วิธีปฏิบัติ เป็นตัวของตัวเองและเป็นอิสระจากครอบครัวเดิม สร้างความสัมพันธ์ลึกซึ้งกับบุคคลอื่น (สามี/ภรรยา) ปรับความสัมพันธ์กับครอบครัวเดิม ทำงานสร้างฐานะ

9 ระยะที่ 2 ครอบครัวเริ่มมีบุตร วัยผู้ใหญ่ตอนต้น
ระยะที่ 2 ครอบครัวเริ่มมีบุตร วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ภารกิจ : ต้อนรับสมาชิกใหม่(ลูก) เข้าสู่ครอบครัว วิธีปฏิบัติ ปรับความสัมพันธ์ระหว่างสามีและภรรยาเพื่อต้อนรับสมาชิกใหม่(ลูก) ปฏิบัติบทบาทหน้าที่ในฐานะพ่อแม่อย่างเหมาะสม ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเครือญาติกับลูกของตน

10 ระยะที่ 3 ครอบครัวที่มีบุตรเล็ก วัยผู้ใหญ่ตอนต้น
ระยะที่ 3 ครอบครัวที่มีบุตรเล็ก วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ภารกิจ : ให้ความอบอุ่นส่งเสริมพัฒนาการ วิธีปฏิบัติ เตรียมพื้นที่เป็นสัดส่วนให้ลูกที่เริ่มโต เตรียมพื้นที่ที่เป็นสัดส่วนให้คู่ของตน ปรับตัวอยู่ระหว่างความเป็นส่วนตัวของชีวิตคู่และความเป็นครอบครัวเดียวกันกับลูก

11 ระยะที่ 4 ครอบครัวที่มีบุตรวัยเรียน วัยผู้ใหญ่ตอนต้น
ระยะที่ 4 ครอบครัวที่มีบุตรวัยเรียน วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ภารกิจ : สร้างวินัยและความรับผิดชอบแก่ลูก วิธีปฏิบัติ สร้างกฎระเบียบใหม่สำหรับบุตรที่โตขึ้นและเริ่มรู้จักสังคม เริ่มแบ่งงานภายในบ้านให้ลูกรับผิดชอบ

12 ระยะที่ 5 ครอบครัวที่มีบุตรวัยรุ่น เริ่มเข้าสู่วัยกลางคน
ระยะที่ 5 ครอบครัวที่มีบุตรวัยรุ่น เริ่มเข้าสู่วัยกลางคน ภารกิจ : ส่งเสริมให้ลูกมีความเป็นตัวของตัวเอง วิธีปฏิบัติ กำหนดขอบเขตและภาระหน้าที่ที่วัยรุ่นควรมีในบ้าน สร้างความสัมพันธ์กับลูกวัยรุ่น เตรียมใจกับการแยกตัวของวัยรุ่นรวมถึงการแยกออกจากบ้านในอนาคต

13 ระยะที่ 6 ครอบครัวที่มีบุตรแยกย้ายออกจากบ้าน วัยกลางคน
ระยะที่ 6 ครอบครัวที่มีบุตรแยกย้ายออกจากบ้าน วัยกลางคน ภารกิจ : ยอมรับการแยกจากไปของลูกและการเข้ามาของเขย - สะใภ้ วิธีปฏิบัติ ปรับตัวกับการหมดบทบาทความรับผิดชอบของ “พ่อ – แม่” ลูกแยกออกจากบ้าน รับผิดชอบตนเอง มีแฟน มีคู่ครอง พ่อแม่ พี่น้องของตนเองเริ่มเข้าสู่วัยชราและเริ่มเจ็บป่วย อาชีพมั่นคงและประสบผลสำเร็จ ปรับตัวกับความสัมพันธ์กับคู่ครองของตนที่มีมายาวนานและเริ่มชินชา

14 ระยะที่ 7 ครอบครัวที่อยู่ในวัยเกษียณ เริ่มเข้าสู่วัยชรา
ระยะที่ 7 ครอบครัวที่อยู่ในวัยเกษียณ เริ่มเข้าสู่วัยชรา ภารกิจ : ยอมรับการเปลี่ยนแปลงในบทบาทของตน เนื่องจากเข้าสู่วัยชรา วิธีปฏิบัติ ปรับตัวกับภาวะที่ไม่มีงานทำ/บทบาทของวัยชรา สร้างความสัมพันธ์และมีบทบาทใหม่กับลูกหลานและคู่ชีวิต ปรับตัวกับความเสื่อมโทรมของสังขารตนเองและคู่ครองแสวงหา พยายามคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพในการทำงานและความกระตือรือร้นในชีวิตของตนเอง

15 ระยะที่ 8 ครอบครัวที่อยู่ในวัยชรา วัยชรา
ระยะที่ 8 ครอบครัวที่อยู่ในวัยชรา วัยชรา ภารกิจ : เตรียมตัวเตรียมใจสำหรับวาระสุดท้ายของตนเอง วิธีปฏิบัติ ปรับตัวกับความเปลี่ยนแปลงของร่างกายตามสังขารความเจ็บป่วยของตนเองและคู่ครอง ปรับตัวกับการสูญเสียความเป็นตัวของตัวเองโดยต้องพึ่งพาลูกหลานมากขึ้น ปรับตัวกับการสูญเสียคู่ชีวิต เพื่อนและสังคมที่ตนเองเคยคุ้นเคยมาตลอดชีวิตเหมือนถูกทิ้งให้อยู่ในโลกใหม่ แสวงหาบทบาทที่เหมาะสมของวัยชรา และเตรียมสำหรับวาระสุดท้าย

16 ขั้นตอนการใช้เครื่องมือวงจรชีวิตครอบครัว
ทำความเข้าใจกับวงจรชีวิตครอบครัวแต่ละระยะ ประเมินว่า ครอบครัวปฏิบัติภารกิจที่สำคัญได้สำเร็จหรือไม่ - ถ้าครอบครัวปฏิบัติภารกิจสำคัญสำเร็จ ครอบครัวนั้นจะสามารถก้าวไปสู่วงจรชีวิตครอบครัวระยะต่อไปได้โดยไม่มีความเครียด - แต่ในครอบครัวที่ปฏิบัติภารกิจสำคัญไม่สำเร็จจะทำให้ครอบครัวนั้นเผชิญกับ ความเครียด นำไปสู่การเกิดปัญหาในครอบครัวได้

17 ขั้นตอนการใช้เครื่องมือวงจรชีวิตครอบครัว
คัดกรองความเครียดครอบครัวและสมาชิกในครอบครัว - ประเมินว่าครอบครัวสามารถจัดการกับความเครียด (Family Coping) ได้หรือไม่ และว่าความเครียดนั้นมีผลกระทบต่อสมาชิกในครอบครัวอย่างไร - วางแผนการดูแลที่เฉพาะสำหรับผู้รับบริการแต่ละรายโดยการพยากรณ์จากธรรมชาติของวงจรชีวิตครอบครัวในระยะสั้น ๆ ติดตามดูแลต่อเนื่อง

18 การวิเคราะห์ระบบครอบครัว (Family system assessment)

19 การวิเคราะห์ระบบครอบครัว
เป็นครอบครัวระยะใด (Family life cycle) มีใครอยู่บ้าง (Family as a system) ปกติอยู่กันอย่างไร มีใครทำอะไรกันบ้าง (Roles, Family stability or homeostasis) ผู้อาวุโสตามลำดับเป็นใครบ้าง (Hierarchy)

20 การวิเคราะห์ระบบครอบครัว
มีมุ้งเล็กในมุ้งใหญ่อย่างไร (Boundaries, Alliance, Coalition) เมื่อเกิดปัญหาในครอบครัว ครอบครัวมีการปรับตัวอย่างไร (Family coping) ครอบครัวมีรูปแบบการแก้ปัญหาที่ผ่านมาอย่างไรถ่ายทอดข้ามรุ่นหรือไม่ (Family pattern) ใครคือผู้ที่อาจจะมีโอกาสเกิดปัญหาในอนาคตบ้าง(ผู้ป่วยแอบแฝง หรือ Scapegoat)

21 เครื่องมืออย่างงายในการประเมินครอบครัว
แผนผังครอบครัว (Family genogram) ผังครอบครัวตามกาลเวลา(Time flow chart) วงจรชีวิตครอบครัว (Family life cycle) การวิเคราะห์ระบบครอบครัว (Family system assessment)

22 แผนภูมิครอบครัว Genogram
วาดอย่างน้อย 3 รุ่น เริ่มจากตัวผู้ป่วยหลัก ลำดับพี่น้อง/สามีภรรยา จากซ้ายไปขวา วงรอบสมาชิกบ้านเดียวกับผู้ป่วย รายละเอียดสมาชิก ความสัมพันธ์ในครอบครัว

23

24

25 การวิเคราะห์ระบบครอบครัว
เป็นครอบครัวระยะใด มีใครอยู่บ้าง ปกติอยู่กันอย่างไร มีใครทำอะไรกันบ้าน ผู้อาวุโสตามลำดับเป็นใครบ้าง

26


ดาวน์โหลด ppt Family assessment.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google