ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนนโยบาย และการดำเนินงานแบบบูรณาการ ของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 โดย : นายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
แนวทางการตรวจราชการคุณภาพ เขตสุขภาพที่1
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
VDO Conference 14 มี.ค.60 ประเด็น ติดตามผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (PA) เขตสุขภาพที่ 8.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
แนวทางการตรวจราชการ ปี 2561
สรุปผลการตรวจราชการ กรณีปกติ รอบที่ 2 ประจำปี 2560 เขตสุขภาพที่ 1
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
การถ่ายทอดตัวชี้วัด เป้าหมาย เพื่อลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และคำรบรองการปฏิฟ้ติราชการ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
Performance Agreement
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการ (คพสก.)
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท์ รองอธิบดีกรมอนามัย
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
แนวทางการตรวจราชการ ปี 2562
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50.
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
Prevention & Promotion Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 โดย นางปัจฉิมา บัวยอม รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ

คณะกรรมการกำหนดแผนและติดตามผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 คณะที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 1. นายแพทย์ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 6 ประธาน 2. นายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 3 รองประธาน 3. แพทย์หญิงพรรณพิมล วิปุลากร ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 12 4. นายแพทย์อภิชาติ รอดสม สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 6 5. นายแพทย์ไพศาล ธัญญาวินิจกุล สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 1 6. นายแพทย์ยุทธนา พูนพานิช สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 9 7. นายแพทย์ยอร์น จิระนคร สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 12 และคณะ

ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขกับการตรวจราชการ ปี 2560 ตรวจราชการปี59 ตรวจราชการปี60 ยุทธศาสตร์ กสธ. คณะ 1 การดูแลสุขภาพกลุ่มวัย ระบบควบคุมโรค คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภค PP Excellence คณะ 2 Service Plan 12 สาขา Service Excellence คณะ 2 การพัฒนาระบบบริการ คณะ 3 ระบบบริหารจัดการ การเงินการคลัง ยา - เวชภัณฑ์ไม่ใช่ยา พัฒนาบุคลากร ธรรมาภิบาล คณะ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ People Excellence คณะ 4 ระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ คบ.ด้านอาหาร/ผลิตภัณฑ์สุขภาพ คบ.ด้านสิ่งแวดล้อม คณะ 4 การบริหารจัดการ Governance Excellence คณะ 5 ตรวจบูรณาการ ขยะ / อุบัติเหตุ คณะ 5 ตรวจบูรณาการ (ขยะ)

กรอบการตรวจราชการประจำปี 2560 คณะ 1 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ คณะ 2 การพัฒนาระบบบริการ คณะ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณะ 4 การบริหารจัดการ คณะ 5 ตรวจราชการแบบบูรณาการ 17 KPIs 17 KPIs 3 KPIs 6 KPIs รวมตัวชี้วัดตรวจราชการ 43 KPIs

4 แผนงาน 12 โครงการ คณะที่ 1 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรคและ การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 4 แผนงาน 12 โครงการ แผนงานที่ 1 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย ด้านสุขภาพ (4 โครงการ) 1. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 2. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น 3. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยทำงาน 4. โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยผู้สูงอายุ แผนงานที่ 2 : การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (3 โครงการ) แผนงานที่ 3 : การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ (3 โครงการ) แผนงานที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม (2 โครงการ)

คณะ 1 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 17 KPIs 1. อัตราส่วนการตายมารดา 2. เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 3. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี 4. เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน 5. เด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free) 6. อัตราการตั้งครรภ์ในหญิงอายุ 15-19 ปี 7. Long Term Care =PA 8.ร้อยละ 80 ขอจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง 9.อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ 10.อัตราการเสียชีวิตจาก การจมน้ำ 11.อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน 12.อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ 13.ร้อยละของผลิตภัณฑ์ อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย 14.ร้อยละของผู้ป่วย ยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด 15. ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ได้รับการตรวจสอบได้ มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด 16.ร้อยละของสถานพยาบาลและ สถานประกอบการเพื่อสุขภาพได้รับการตรวจสอบมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด 17. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN& CLEAN Hospital แผนงาน 1 พัฒนาคุณภาพชีวิต ทุกกลุ่มวัย แผนงาน 2 ป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ แผนงาน 3 ลดปัจจัยเสี่ยง ด้านสุขภาพ แผนงาน 4 บริหารจัดการ สิ่งแวดล้อม

คณะที่ 1 PIRAB From womb to tomb 0-5 ปี หญิงตั้งครรภ์ วัยเรียน วัยรุ่น 2. 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 0-5 ปี 3. 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี 1.อัตราส่วนการตายมารดา หญิงตั้งครรภ์ 4. เด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน วัยเรียน 5. 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ 10. การจมน้ำของเด็กอายุ น้อยกว่า 15 ปี PIRAB วัยรุ่น 6. คลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี 9. ตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) 11.อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ผู้สูงอายุ วัยทำงาน 12.อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่

P I R A B คณะที่ 1 ระดับเขตสุขภาพ ระดับจังหวัด ตำบล จัดการสุขภาพ 13.ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย ระบบสุขภาพระดับอำเภอ DHS 15.ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด 8.ร้อยละของจังหวัดมี EOCและ SAT ที่สามารถปฏิบัติงาน ได้จริง ตำบล จัดการสุขภาพ 16.ร้อยละของสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพได้รับการตรวจสอบมาตรฐานตามเกณฑ์ 9.อัตราความสำเร็จ การรักษาผู้ป่วย วัณโรค 14.ร้อยละผู้ป่วย ยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน 17. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ระบบจัดการสุขภาพในพื้นที่ การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม

หญิงตั้งครรภ์ คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 1 Lag : 1) อัตราส่วนการตายมารดาไทยไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน (เป้าหมายปี 60 ไม่เกิน 20 ) กรมอนามัย จำนวนมารดาตายระหว่างการตั้งครรภ์ (ภายใน 42 วัน) ทุกสาเหตุยกเว้นอุบัติเหตุ X 100,000 จำนวนการเกิดมีชีพทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน ฐานข้อมูลการตายจากทะเบียนราษฎร์ แหล่งข้อมูล โรงพยาบาล สำรวจการตายมารดา กรมอนามัย (รายงาน CE)

เด็ก 0-5 ปี คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 2 2) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (ร้อยละ 80) กรมอนามัย จำนวนเด็กอายุ 9,18,30,42เดือนพัฒนาการสมวัย (รวมถึงพัฒนาการล่าช้าที่ได้รับการกระตุ้น และผ่านเกณฑ์) X 100 จำนวนเด็กอายุ 9,18,30,42เดือน ที่ได้รับการตรวจพัฒนาการ หน่วยบริการ แหล่งข้อมูล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

เด็ก 0-5 ปี คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 3 3) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี (ร้อยละ 51)(ช113/ญ112) กรมอนามัย จำนวนเด็กอายุ 0-5ปีสูงดีสมส่วน X 100 จำนวนเด็กอายุ 0-5ปีที่ได้รับการชั่ง นน.และวัดส่วนสูงทั้งหมด ผลรวมส่วนสูงชายอายุ 5 ปีที่วัดส่วนสูง X 100 ชายอายุ 5 ปีที่ได้วัดส่วนสูงทั้งหมด ผลรวมส่วนสูงหญิงอายุ 5 ปีที่วัดส่วนสูง X 100 หญิงอายุ 5 ปีที่ได้วัดส่วนสูงทั้งหมด แหล่งข้อมูล สถานบริการ(คลินิกเด็กดี)/ศูนย์เด็กเล็ก/หมู่บ้าน

เด็กวัยเรียน คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 4 2) ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน (ร้อยละ 66) กรมอนามัย จำนวนเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน X 100 จำนวนเด็กอายุ 6-14 ปีที่ได้รับการชั่งนน.และวัดส่วนสูงทั้งหมด รายงาน HDC สนย. แหล่งข้อมูล สุ่มสำรวจภาวะโภชนาการร่วมกับ สำรวจทันตสุขภาพในเด็กอายุ 0-12 ปี

เด็กวัยเรียน คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 5 4) ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free) (ร้อยละ 52) กรมอนามัย จำนวนเด็กกลุ่มอายุ 12 ปีฟันดีไม่มีผุ X 100 จำนวนเด็กกลุ่มอายุ 12 ปีทั้งประเทศ ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม รวบรวมโดย สนย. แหล่งข้อมูล ระบบเฝ้าระวังทันตสุขภาพ (ท.02)

เด็กวัยเรียน คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 10 Lag : 1) อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี (ไม่เกิน 5 ต่อแสนประชากร) กรมควบคุมโรค จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีที่เสียชีวิตจากการจมน้ำ X 100000 จำนวนประชากรกลางปีของเด็กอายุตำกว่า15 ปี ข้อมูลการตาย ฐานข้อมูลทะเบียนราษฏร์ของกระทรวงมหาดไทย โดย สนย. แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม

วัยรุ่น คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 6 5) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี (ไม่เกิน 42 ต่อพันประชากร) กรมอนามัย จำนวนการคลอดมีชีพโดยหญิงอายุ 15-19 ปี (ทะเบียนเกิด) X 1000 จำนวนหญิงอายุ 15-19 ปี ทั้งหมด (จำนวนประชากรกลางปีจากฐานข้อมูลทะเบียนราษฏร์) ฐานข้อมูลการเกิดมีชีพจาดทะเบียนราษฏร์กรมการปกครอง ของกระทรวงมหาดไทย แหล่งข้อมูล

วัยทำงาน คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 11 2) อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (ลดลง 14% จากปี 2554)(ไม่เกิน 18 ต่อแสนประชากร) กรมควบคุมโรค จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน(V01-V89) ปีงบประมาณ2560 ปีงบประมาณ2554 X 100 จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน(V01-V89)ทั้งหมดของปีงบประมาณ2554 (based line) บูรณาการข้อมูล 3 ฐาน ฐานข้อมูลการตาย มรณบัตร มหาดไทย ผ่าน สนย. แหล่งข้อมูล ระบบ POLIS ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ระบบ e-claim บรัษัทกลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ

วัยทำงาน คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 12 ลดจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ลงเมื่อเทียบกับปี 2559 (HT ลดลงร้อยละ 2.5 / DMลดลงร้อยละ 5 ) กรมควบคุมโรค ฐานข้อมูล ปี 2559 - ผู้ป่วยความดันโลหิต 400,000 คน - ผู้ป่วยเบาหวาน 200,000 คน เป้าหมาย ปี 2560 - ผู้ป่วยความดันโลหิต 390,000 คน - ผู้ป่วยเบาหวาน 190,000 คน แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูล HDC ของ Data Center จังหวัด

ผู้สูงอายุ คณะที่ 1 แหล่งข้อมูล 7 Lead : 1) ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 50) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ/ กรมอนามัย/กรมการแพทย์ จำนวนตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ X 100 จำนวนตำบลทั้งหมดที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล (Long Term Care) แหล่งข้อมูล แบบประเมินตามองค์ประกอบ

คณะที่ 1 ระบบการจัดการสุขภาพในพื้นที่ แหล่งข้อมูล 8 Lead : 1) ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง (ร้อยละ 80) กรมควบคุมโรค จำนวนจังหวัดที่มี EOC และ SAT ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง X 100 จำนวนจังหวัดทั้งหมด แหล่งข้อมูล แบบประเมินผลการดำเนินงานในระดับจังหวัด

คณะที่ 1 ระบบการจัดการสุขภาพในพื้นที่ แหล่งข้อมูล 9 Lead : 1) อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ (ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85) กรมควบคุมโรค จำนวนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่/กลับเป็นซ้ำที่มีผลการรักษา หาย+รักษาครบที่ขึ้นทะเบียน* X 100 จำนวนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่/กลับเป็นซ้ำทุกกลุ่มที่ขึ้นทะเบียน* * ตุลาคม-ธันวาคม59 แบบรายงาน TB 08 ระบบรายงานอิเลคทรอนิกส์รายบุคคล แหล่งข้อมูล โปรแกรมบริหารจัดการผู้ป่วยวัณโรค (TBCM 2010) โปรแกรม TBCM online

ระบบการจัดการสุขภาพในพื้นที่ คณะที่ 1 ระบบการจัดการสุขภาพในพื้นที่ 14 Lag: 1) ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด (ร้อยละ 92) กรมการแพทย์ จำนวนผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้ารับการบำบัดรักษาและหยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือนหลังจากรับการบำบัดรักษา X 100 จำนวนผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้ารับการบำบัดรักษาและได้รับการจำหน่ายตามเกณฑ์ที่กำหนด รายงานการบำบัดรักษายาเสพติดของประเทศ (บสต.) แหล่งข้อมูล

คณะที่ 1 13 Lead : 1) ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย (ร้อยละ 80) สนง.คณะกรรมการอาหารและยา จำนวนของผลิตภัณฑ์ที่ผลวิเคราะห์ผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ X 100 จำนวนของผลิตภัณฑ์ที่เก็บตัวอย่างเพื่อตรวจวิเคราะห์ทั้งหมด ข้อมูลจาก สำนักอาหาร อย. แหล่งข้อมูล ข้อมูลจาก หน่วยเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร / สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

คณะที่ 1 15 Lead : 1) ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 95) สนง.คณะกรรมการอาหารและยา จำนวนของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ X 100 จำนวนของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ตรวจสอบทั้งหมด รายงานผลการเฝ้าระวัง ของ อย. แหล่งข้อมูล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รายงานผลในระบบ Dashboard ของกระทรวงสาธารณสุขทุกไตรมาส

คณะที่ 1 1 2 แหล่งข้อมูล 16 2) ร้อยละของสถานพยาบาล(ร้อยละ 100) และสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ(ร้อยละ 60) ได้รับการตรวจสอบมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (รวมร้อยละ 80) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จำนวนสถานพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์ตามกฎหมาย X 100 สถานพยาบาลที่ขึ้นทะเบียนทั้งหมด 1 จำนวนสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่ผ่านเกณฑ์ตามกฎหมาย X 100 สถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่ยื่นขอใบอนุญาต 2 ข้อ 1 + ข้อ 2 X 100 2 แหล่งข้อมูล กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

คณะที่ 1 17 Lead : 1) ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital (ร้อยละ 75) กรมอนามัย/กรมควบคุมโรค จำนวนโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ ดำเนินกิจกรรม GREEN&CLEAN ตามที่กำหนด X 100 จำนวนโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั้งหมด แหล่งข้อมูล โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

ลำดับ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1 Lag : 1) อัตราส่วนการตายมารดาไทยไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 20 ต่อแสน 2 2) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 3 3) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ร้อยละ 51 4 2) ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน ร้อยละ 66 5 4) ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปีฟันดีไม่มีผุ (cavity free) ร้อยละ 52 6 5) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี 42 ต่อพัน 7 Lead : 1) ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50 8 Lead : 1) ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง 9 Lead : 1) อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ร้อยละ 85 10 Lag : 1) อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี 5 ต่อแสน 11 2) อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน 18 ต่อแสน 12 3) อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ HT 390,000 DM 190,000 13 Lead : 1) ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย 14 Lag: 1) ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด ร้อยละ 92 15 Lead : 1) ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 95 16 2) ร้อยละของสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ได้รับการตรวจสอบมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด รวมร้อยละ 80 17 Lead : 1) ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ร้อยละ 75

...เปลี่ยนโทมนัส ให้เป็น พลังความดี...