การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชี้แจงรายละเอียดและเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัดของหน่วยงาน ตามคำรับรองฯ ปีงบประมาณ พ.ศ.2557.
Advertisements

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
แนวทางการจัดตั้งศูนย์ข้อมูล ข่าวสารของราชการ สำนักงานสถิติจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ตาม พ. ร. บ. ข้อมูลข่าวสารของ ราชการ พ. ศ. ๒๕๔๐ สำนักงานสถิติจังหวัด.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (รอบ 5 เดือนแรก: 1 ตุลาคม
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขั้นตอนในการติดตามผลการปฏิบัติงานโครงการ
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
วันที่ 15 – 16 มิถุนายน 2558 ณ สำนักคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ระบบการตรวจราชการ และนิเทศงาน ปี 2555
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
นางสาวถนอมรัตน์ ประสิทธิเมตต์ ศูนย์อนามัยที่ ๔ สระบุรี
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน หมวด P 13 ข้อ
ระดับความสำเร็จในการแก้ไข เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ

ประเด็นการประเมินผลการดำเนินงานตามคำรับรองฯ 5 เดือนแรก ระดับ ประเด็นการประเมินผล คะแนนเต็ม 1 - ร้อยละ 50 ของจังหวัดมีนโยบายส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และบุคลากรสาธารณสุขทุกคนที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสตรีและเด็กรับทราบนโยบาย พร้อมทั้งมีแผนงาน/โครงการรองรับนโยบาย - มีระบบและเครือข่ายการใช้โปรแกรมเฝ้าระวังการเจริญเติบโตในพื้นที่ 2 - ร้อยละ 10 ของกลุ่มเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Cluster: PCC) จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยด้านโภชนาการและสุขภาพช่องปาก - ศูนย์อนามัยมีรายงานผลการประเมินตนเองของตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย อย่างน้อยอำเภอละ 1 ตำบล 3 - ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน เพิ่มขึ้นจากค่า baseline   ร้อยละที่เพิ่มขึ้น ................ (กรอกตัวเลขร้อยละที่เพิ่มขึ้น แล้วเทียบคะแนน) คะแนน 0.4 0.7 คะแนนรวม 5 ประเมินผลตามข้อมูล เชิงคุณภาพ ประเมินผลตามข้อมูล เชิงปริมาณ

ประเด็นการประเมินผลการดำเนินงานตามคำรับรองฯ(ค่า Base line) ศูนย์อนามัยที่ ร้อยละ 5 เดือนแรก 5 เดือนหลัง คะแนน 1 =0.4% 2 =0.7% 3=1% 0.9=1% 1.8=2% 2.7=3% 1 44.2 44.60 44.90 45.20 46.20 47.20 2 44.7 45.10 45.40 45.70 46.70 47.70 3 48.5 48.90 49.20 49.50 50.50 51.50 4 46.5 46.90 47.50 47.40 48.30 5 48.3 48.70 49.00 49.30 50.30 51.30 6 7 49.4 49.80 50.10 50.40 51.40 52.40 8 47.3 48.00 9 51.2 51.60 51.90 52.20 53.20 54.20 10 43.7 44.10 44.40 44.70 11 12 46.1 46.50 46.80 47.10 48.10 49.10 13 52.0 53.70 53.00 52.90 53.80 54.70 รวม 48.0 48.40 50.00 51.00 ที่มา : ระบบรายงาน HDC สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ วันที่ประมวลผล :: 20 ตุลาคม 2559

ข้อสังเกตการประเมินผลการดำเนินงานตามคำรับรองฯ เขตที่มีผลการดำเนินงานสูงกว่าค่าเป้าหมายระดับประเทศ ปี 2560 จะคิดว่าผ่านแล้ว โดยไม่ได้ศึกษารายละเอียด จาก template ข้อมูลเชิงคุณภาพที่เป็นการดำเนินงาน ส่วนใหญ่ หน่วยงานจะไม่ได้เขียนสรุปการดำเนินงานตาม template เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน เอกสารหลักฐานที่แนบมาส่วนใหญ่จะแนบเอกสารสรุปการ ตรวจราชการ มีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดนี้น้อย มาก หรือบางแห่งส่งหลักฐานอ้างอิงมาที่ไม่มีความ เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัด ข้อเสนอแนะการประเมินผลการดำเนินงานตามคำรับรองฯ 1. หน่วยงานส่วนกลางควรชี้แจงทำความเข้าใจกับศูนย์ อนามัยในการดำเนินงานตาม template และ small success และทำแบบฟอร์มรายงานให้ศูนย์อนามัย ศูนย์อนามัยควรมีการจัดระบบของเอกสารหลักฐาน อ้างอิงให้ชัดเจน ตาม template และ small success และ upload ขึ้นเว็บไซต์อย่างเป็นระบบ

ประเด็นการประเมินผลการดำเนินงานตามคำรับรองฯ 5 เดือนหลัง ระดับ ประเด็นการประเมินผล คะแนนเต็ม 1 - ร้อยละ 100 ของจังหวัดมีนโยบายส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และบุคลากรสาธารณสุขทุกคนที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสตรีและเด็กรับทราบนโยบาย พร้อมทั้งมีแผนงาน/โครงการรองรับนโยบาย 1.6   - ร้อยละ 50 ของจังหวัดมีตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย อย่างน้อยอำเภอละ 1 ตำบล - รายงานสรุปผลการประเมินตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย อย่างน้อยร้อยละ 30 ของตำบลที่ผ่านเกณฑ์ประเมินของจังหวัด ผลการประเมินตนเอง พร้อมแผนแก้ไขปัญหาร่วมกับจังหวัด - รายงานสรุปผลการดำเนินงานส่งเสริมเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและมาตรการ 2 - ร้อยละ 50 ของกลุ่มเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Cluster: PCC) จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยด้านโภชนาการและสุขภาพช่องปาก 0.7 - รายงานสรุปผลการดำเนินงานจัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยด้านโภชนาการและสุขภาพช่องปากโดย PCCและข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการและเชิงนโยบาย 3 - ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน เพิ่มขึ้นจาก ค่า baseline 2.7 ร้อยละ (กรอกตัวเลขร้อยละที่เพิ่มขึ้น แล้วเทียบคะแนน) คะแนน 0.9 1.8 คะแนนรวม 5 ประเมินผลตามข้อมูล เชิงคุณภาพ ประเมินผลตามข้อมูล เชิงปริมาณ