ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีการบันทึกรายการในระบบ GFMIS ผ่าน Web Online สำหรับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น.
Advertisements

E- Banking.
รายงานระบบจัดซื้อจัดจ้าง ผ่าน Web Online
กรมสรรพากร กระทรวงการ คลัง. การบริหารงานสรรพากร จัดเก็บภาษีให้ทั่วถึงเป็นธรรม มี ความโปร่งใส ค่าใช้จ่ายต่ำ ทั้งส่วนของ ทางการ และเอกชน มุ่งพัฒนาเป็นองค์กรแห่งการ.
ระบบยื่นชำระภาษีออนไลน์ (น้ำมัน โรงแรม ยาสูบ). ประเภทรายได้ภาษีท้องถิ่นจัดเก็บเอง ประเภท รายได้ อบจ. เทศ บาล อบต. เมือง พัทยา กทม. 1.1 ภาษี โรงเรือนที่ดิน.
โครงการ ประชุมเชิง ปฏิบัติการ ขยายเครือข่าย เรื่อง... “ การจัดระบบบริการ แบบครบวงจร ( o ne s top c risis c enter) สำหรับเด็กและสตรีที่ได้รับ ความรุนแรง.
เรื่อง หลักการและแนวทางทั่วไป การขออนุมัติโอน เปลี่ยนแปลง ปรับเพิ่ม – ลดงบประมาณ และ รายการ วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2559 คณะวิทยาศาสตร์
ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) และรูปแบบรายงานการเงิน
รายละเอียดตัวชี้วัดตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ
สัญญา หลักประกันและ การบริหารสัญญา
การควบคุมวัสดุ ครุภัณฑ์ และรถราชการ
สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
1. วิธีการ Set ค่าคอมพิวเตอร์ก่อนติดตั้ง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ
การปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ช่วงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
ขั้นตอนการชำระเงินสมทบ กองทุนประกันสังคม ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)
โครงการพัฒนารูปแบบการจัดบริการเชิงรุกเพื่อค้นหาโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเรือนจำ นพ.สุเมธ องค์วรรณดี ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
1 โครงการระบบการชำระเงิน แบบ Any ID
การประชุมชี้แจงเรื่อง การจ่ายเงินผ่านระบบ KTB corporate online
บรรยายวิชาการบริหารการคลังภาครัฐ หลักสูตรการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ ระดับชำนาญการรุ่นที่ 10 วันที่ 2 มิถุนายน 2558 โดย สุดา ดุลยประพันธ์
โครงการแผนการจ่ายเงินการรับเงิน และนำเงินส่งคลังของ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการบริหาร ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ e-Payment.
โดย นางเพชราภรณ์ คำเอี่ยมรัตน์
การเข้าใช้งาน KTB Corporate online กลุ่มภาครัฐ
การเบิกจ่ายเงินค่าเบี้ยประชุม
E-Payment ภาครัฐ หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน การรับเงิน และการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ ผ่านระบบ KTB Corporate Online เริ่มดำเนินการ 1 ตุลาคม.
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ และ (ฉบับที่
การพิจารณากลุ่มเลข และเอกสาร หลักฐานที่ใช้ประกอบการ ลงทะเบียนในกองทุน
การใช้บริการ GFMIS Package สำหรับลูกค้าหน่วยงานภาครัฐ
ระบบการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ สุทธิรัตน์ รัตนโชติ 16 สิงหาคม 2559
Agenda ::: ระบบงานทะเบียนสวนป่า RFD Single Window ปี 2561
1.
คู่มือการเบิกจ่ายเงิน
การบริหาร เงินงบประมาณ และ เงินนอกงบประมาณ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น
ระบบควบคุมภายในด้านการเงินการคลัง
กลไกการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
มติ ครม. 15 ธค. 58 เห็นชอบแผนปฎิบัติงานโครงการ อบรมฯ ในกรอบวงเงิน 1,064,574,000 บาท -งบกลางฯ 948,150,000 บาท -ปรับแผนฯ ปี ,424,000.
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
GFMIS on KTB Corporate Online 3.0 การลงโปรแกรม
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
แผนกิจกรรมการสร้างการรับรู้ และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากเน็ตประชารัฐ
วันพุธที่ 21 มีนาคม 2555 เวลา น. ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล
การจัดหาของกรมพลาธิการทหารบก
ผลการเข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติและเสวนาวิชาการ
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
ส่วนการเงิน กองการเงินและบัญชี
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
ประชุมชี้แจงเตรียมความพร้อม ปีงบประมาณ 2559
ขั้นตอนการรับและการเบิกจ่ายเงิน โครงการตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกร ตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง ปี 2558/59 นางกุลฤดี พัฒนะอิ่ม ผู้อำนวยการกองคลัง.
ขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง (วิธีตกลงราคา)
เงินค่าใช้จ่ายในการดำเนินการสอบแข่งขันบุคคลเข้ารับราชการ
ระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง
สิทธินำคดีมาฟ้องระงับ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสาธารณสุข ๑๐๐ ปี หมออนามัยห่วงใยประชาชน สร้างชุมชนปลอดขยะ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑.
ตัวอย่างที่ 2.11 วิธีทำ.
การจ่ายเงิน การรับเงินและการนำเงินส่งคลัง
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
กองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
การเตรียมความพร้อมในวันสิ้นปีงบประมาณ
โดยนางปิยะพร หงษ์เงิน
การจัดซื้อจัดจ้าง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ.
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้ อยู่ระหว่างดำเนินการ
เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ.
สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ. ศ ของ ภ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 และ ระเบียบการเก็บรักษาเงินและ การนำเงินส่งคลัง ในหน้าที่ของกิ่งอำเภอ พ.ศ. 2520

สาระสำคัญของระเบียบ ฯ หลักการเบิกเงินจากคลัง วิธีการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเบิกจ่ายเงินยืม การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำเงินส่งคลัง

หลักการ เบิกจ่ายเงิน จากคลัง จ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันได้เฉพาะที่มีกม. ระเบียบ ข้อบังคับคำสั่ง มติครม. หรือ กค.อนุญาตให้จ่ายได้ หลักการ เบิกจ่ายเงิน จากคลัง การเบิกเงินเพื่อการใดต้องนำไปจ่ายเพื่อการนั้น หนี้ต้องถึงกำหนดชำระหรือใกล้จะถึงกำหนดชำระ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณใด ให้เบิกจากเงินงบประมาณรายจ่ายของปีนั้น

ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณใด ให้เบิกจากเงินงบประมาณรายจ่ายของปีนั้น เว้นแต่ การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี ค่าใช้จ่ายค้างเบิกข้ามปี ค่าใช้จ่ายที่ถือเป็นรายจ่ายเมื่อ ได้รับแจ้งให้ชำระหนี้ เงินยืมคาบเกี่ยว คชจ.ที่ได้รับการแจ้งหนี้ เป็นลักษณะคชจ.ประจำ

การเบิกเงิน การเบิกเงินให้ใช้ระบบ GFMIS ให้ออกคำสั่งเป็นลายลักษณ์อักษรให้ ขรก. มีหน้าที่เป็นผู้มีสิทธิใช้งาน เพื่อถือบัตรกำหนด สิทธิการใช้ รหัสผู้ใช้ และรหัสผ่าน เพื่อทำหน้าที่ บันทึกข้อมูลและเรียกรายงานในระบบและกำหนด แนวทางการควบคุมในการเข้าใช้งานในระบบ

การเบิกเงิน การซื้อ จ้าง เช่า เกิน 5,000 บาท การซื้อ จ้าง เช่า เกิน 5,000 บาท ให้สร้างใบสั่งซื้อ/จ้าง ในระบบGFMIS การซื้อ จ้าง เช่า เมื่อตรวจรับแล้ว ให้เบิกเงินอย่างช้าไม่เกิน 5 วันทำการ

การจ่ายเงิน จะจ่ายได้เฉพาะที่มี กม. ระเบียบข้อบังคับ หรือ มติครม. อนุญาตให้จ่ายได้ ผู้มีอำนาจได้อนุมัติให้จ่ายได้ (ผู้อนุมัติจะลงลายมือชื่ออนุมัติในหน้างบหลักฐาน การจ่ายก็ได้) มีการตรวจสอบหลักฐานก่อนจ่ายและผู้มีอำนาจ ได้ลงชื่ออนุมัติจ่ายแล้ว เป็นรายจ่ายในการดำเนินการตามปกติ

การจ่ายเงิน การจ่ายเงินให้ผู้มีสิทธิที่ไม่สามารถมารับเงินได้ต้อง มีใบมอบฉันทะ หรือใบมอบอำนาจให้ ผู้อื่นรับแทน หลักฐานการจ่ายให้เป็นไปตามที่ กค. กำหนด หรือ ตามที่ได้รับความเห็นชอบจาก กค. โอนสิทธิเรียกร้องได้ตาม ระเบียบ กค ห้ามเรียกใบเสร็จหรือให้ผู้รับลงชื่อรับเงินโดยยังไม่ได้ จ่ายเงิน

การจ่ายเงิน ให้ประทับตรา “จ่ายเงินแล้ว” ในหลักฐานการ จ่ายให้ผู้จ่ายเงินลงลายมือชื่อรับรองการจ่าย เงินพร้อมชื่อผู้จ่ายตัวบรรจง และวันเดือนปี ที่จ่ายกำกับไว้ในหลักฐานการจ่ายเงินทุกฉบับ

การจ่ายเงิน การจ่ายเงินทุกรายการต้องบันทึกรายการ ในระบบในวันที่จ่าย ทุกสิ้นวันผู้ได้รับมอบหมายต้องตรวจสอบ รายการจ่ายเงินที่บันทึกไว้ในระบบ GFMIS กับหลักฐานการจ่ายในวันนั้น (ข้อ38) ต้องถือปฏิบัติทุกวัน

หลักฐานการจ่าย ใบเสร็จรับเงิน ใบสำคัญรับเงิน (กรณีเจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิไม่มีบร.) ใบรับรองการจ่าย(ใบรับรองแทนใบเสร็จ) (กรณีไม่อาจเรียก บร.ได้) กรณีกรมบัญชีกลางจ่ายเงินตรงให้เจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิ ให้ใช้รายงานในระบบตามที่กระทรวงการคลังกำหนด เป็นหลักฐานการจ่าย (ข้อ 40)

สาระสำคัญของใบเสร็จรับเงิน หลักฐานการจ่าย สาระสำคัญของใบเสร็จรับเงิน ชื่อ สถานที่อยู่ หรือที่ทำการของผู้รับเงิน วัน เดือน ปี ที่รับเงิน รายการแสดงการรับเงินระบุว่าเป็นค่าอะไร จำนวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร ลายมือชื่อผู้รับเงิน

หลักฐานการจ่าย กรณีส่วนราชการจ่ายเงินซึ่งไม่อาจเรียก บร.ให้ผู้รับเงินลง ชื่อรับเงินในใบสำคัญรับเงิน กรณี จนท.นำเงินไปจ่ายและไม่อาจเรียก บร. ให้ทำ ใบรับรองการจ่าย โดยชี้แจงเหตุที่ไม่อาจเรียก บร.ได้ กรณี บร. มีสาระไม่ครบถ้วน ให้ จนท. ผู้จ่ายทำใบรับรอง การจ่าย และแนบ บร.นั้น ประกอบการตรวจสอบด้วย กรณี ขรก/ล.จ สำรองเงินส่วนตัวจ่ายก่อน และไม่อาจ เรียก บร.ได้ ให้ ทำใบรับรองการจ่ายเสนอต่อผู้มีอำนาจ เมื่อได้รับคืนให้ลงชื่อรับเงินใน ใบสำคัญรับเงิน

ใบรับรองการจ่าย การจ่ายเงินในต่างประเทศ ซึ่งกม.หรือประเพณีนิยมของประเทศ นั้นๆ ไม่ต้องออกใบเสร็จ หรือ ออกให้แต่ไม่เป็นไปตามที่ กระทรวงการกำหนด กรณีซึ่งตามลักษณะไม่อาจเรียกใบเสร็จได้ ค่าไปรษณียากร ค่ารถประจำทาง ค่าเรือรับจ้าง ใบสำคัญรับเงินสูญหาย ใบเสร็จรับเงินสูญหายไม่อาจขอสำเนาได้ ใบเสร็จรับเงินสาระไม่ครบ 5 ประการ 1 2 3 4 5 6 7

หลักฐานการจ่ายสูญหาย กรณีสูญหายหลังจากเบิกเงินจากคลังแล้ว บร.สูญหายให้ใช้สำเนา และผู้รับเงินรับรอง หลักฐานการจ่ายอื่นสูญหาย ( เช่น ใบสำคัญรับเงิน) หรือไม่อาจเรียกบร.ได้ ให้ผู้จ่ายทำใบรับรองการจ่าย โดยชี้แจงเหตุผล พฤติการณ์ที่สูญหายหรือไม่อาจ เรียกสำเนา บร.ได้ เสนอผู้หน.หน่วยงานเพื่อ พิจารณาอนุมัติ

หลักฐานการจ่ายสูญหาย กรณีหลักฐานการจ่ายสูญหายก่อนเบิก บร.หายให้ขอสำเนา บร. ไม่อาจขอสำเนา บร.ได้ให้ทำใบรับรองและชี้ แจงเพิ่มเติมว่ายังไม่เคยนำมาเบิกและหากพบ ก็จะไม่นำมาเบิก ก่อนขออนุมัติหน.ส่วนราชการ เมื่อจ่ายเงินให้ผู้มีสิทธิให้ลงชื่อในใบสำคัญรับเงิน เพื่อเป็นหลักฐานการจ่าย

ให้จ่ายเป็นเช็ค ยกเว้นการจ่ายที่วงเงินต่ำ วิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน ให้จ่ายเป็นเช็ค ยกเว้นการจ่ายที่วงเงินต่ำ กว่า 5,000 บาท จะจ่ายเป็นเงินสดก็ได้ (จ่ายเงินสดจากเงินทดรองราชการ) กรณีซื้อ/จ้าง/เช่า ให้ออกเช็คในนาม“เจ้าหนี้” ขีดฆ่าคำว่า “หรือผู้ถือ” ออก และขีดคร่อม กรณีอื่นให้ออกเช็คสั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้/ผู้มี สิทธิ ขีดฆ่า คำว่า “หรือผู้ถือ” ออก และ จะขีดคร่อมหรือไม่ก็ได้ จ่ายผ่านระบบ KTB Corporate Online

กรณีสั่งจ่ายเช็คเพื่อขอรับเงินสดมาจ่ายให้ วิธีปฏิบัติในการจ่ายเช็ค กรณีสั่งจ่ายเช็คเพื่อขอรับเงินสดมาจ่ายให้ ออกเช็คสั่งจ่ายในนาม จนท.การเงิน และฆ่า คำว่า “หรือผู้ถือ” ออกห้ามออกเช็คจ่ายเงินสด การเขียนจำนวนเงินในเช็คที่เป็นตัวเลขและ ตัว อักษรให้เขียนชิดคำว่า “บาท” หรือขีดเส้นหน้า จำนวนเงิน หรือขีดเส้นทั้งหน้าและหลังตัวอักษร

การเบิกจ่าย เงินยืม

3. เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง) เงินยืม หมายถึง เงินที่ส่วนราชการจ่ายให้แก่ บุคคลใด ยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการหรือปฏิบัติ ราชการอื่น การจ่ายเงินยืม 1. เงินงบประมาณ 2. เงินทดรองราชการ 3. เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง)

เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง/UC) จ่ายได้ตามวัตถุประสงค์ของ เงินนั้น ๆ การจ่ายเงินยืม เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง/UC) จ่ายได้ตามวัตถุประสงค์ของ เงินนั้น ๆ ยกเว้นกรณีเร่งด่วน ต้องได้รับอนุมัติจากหน.ส่วน

กรณีผู้ยืมไม่มีเงินใด ๆ ที่ส่วนราชการจะหักคืนเงิน การจ่ายเงินยืม กรณีผู้ยืมไม่มีเงินใด ๆ ที่ส่วนราชการจะหักคืนเงิน ยืมได้ ผู้ยืมต้องนำหลักทรัพย์วางประกันหรือหา บุคคลตามที่ กค.กำหนดมาทำสัญญาค้ำประกัน

การจ่ายเงินยืมไปราชการภายในประเทศ จ่ายได้ไม่เกิน 90 วัน การจ่ายเงินยืมปฏิบัติราชการคาบเกี่ยวปี งปม.ใหม่จะเบิกเงินปีงบป.ปัจจุบันได้ กรณี เป็น คชจ.ไปราชการไม่เกิน 90 วัน และเป็น คชจ.ปฏิบัติราชการอื่นไม่เกิน 30 วัน

การรับคืนเงินยืม ออกใบรับใบสำคัญ (ตามแบบ กค.กำหนด) บันทึกการรับคืนในสัญญายืมเงิน

ยืมไปราชการประจำต่าง สนง. หรือเดินทาง กำหนดระยะเวลาส่งใช้คืน ยืมไปราชการประจำต่าง สนง. หรือเดินทาง ไปรับราชการประจำต่างประเทศหรือเดินทาง กลับภูมิลำเนาให้ส่งคืนทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ธนาณัติ ภายใน 30 วัน นับจากวันรับเงิน เดินทางไปราชการอื่นชั่วคราว ภายใน 15 วัน นับจากวันเดินทางกลับ ยืมปฏิบัติราชการอื่นๆ ภายใน 30 วัน นับ จากวันรับเงิน

สัญญาเงินยืมที่ครบกำหนดแล้วให้เร่งรัดและ กำหนดระยะเวลาส่งใช้คืน สัญญาเงินยืมที่ครบกำหนดแล้วให้เร่งรัดและ ปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาเงินยืมอย่างช้าไม่ เกิน 30 วัน นับแต่วันครบกำหนด และรายงาน หน.พิจารณาสั่งการบังคับตามสัญญาเงินยืม

การรับเงิน การรับเงินบริจาคต้องออกใบเสร็จรับเงิน ออกใบเสร็จรับทุกครั้งที่มีการรับเงินสด เช็ค ดร๊าฟท์ ตั๋วแลกเงิน บัตรเดบิต/เครดิต (ว.91) Bill Payment ผ่านระบบ KTB Corporate Online (ว.103) การรับเงินบริจาคต้องออกใบเสร็จรับเงิน โดยปกติใช้เล่มเดียว และต้องมีการตรวจสอบ บันทึกการรับเงินในระบบในวันที่รับเงินนั้น

การรับเงิน จนท.ที่รับเงินต้องได้รับแต่งตั้ง การส่งมอบเงินต้องตรวจสอบยอดเงินตาม สำเนาใบเสร็จรับเงินและมีหลักฐานลงชื่อรับส่ง เงินระหว่างกัน ให้จัดทำทะเบียนคุม บร.และรายงานการใช้ บร.ให้ หน่วยงานที่เบิก บร.มา ภายในวันที่ 31 ตุลาคม ของ ปี งปม.ถัดไป

การรับเงิน ให้มีการตรวจสอบจำนวนเงินที่ จนท.จัดเก็บและนำส่ง กับหลักฐานและข้อมูลการรับที่บันทึกในระบบว่าถูกต้อง ครบถ้วน (ข้อ 78) เมื่อตรวจสอบถูกต้องแล้วให้แสดงยอดรวมทั้งสิ้น ตาม บร. ที่รับในวันนั้นไว้ในสำเนา บร.ฉบับสุดท้ายและ ลงลายมือชื่อกำกับ

การเก็บรักษาเงิน การแต่งตั้งกรรมการเก็บรักษาเงินระดับ 3 หรือ เทียบเท่าในส่วนราชการนั้นอย่างน้อย 2 คน การแต่งตั้งกรรมการสำรองกรณีกรรมการไม่ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้

การเก็บรักษาเงิน เมื่อสิ้นเวลารับจ่ายเงินให้จนท.การเงินจัดทำราย งานเงินคงเหลือ และส่งมอบให้กรรมการตรวจนับ กรรมการตรวจนับเงินสดคงเหลือ/เอกสารแทน ตัวเงิน ถูกต้องครบถ้วนตามรายงานเงินคงเหลือ ประจำวัน แล้วลงลายมือกรรมการทุกคน ก่อนเสนอ หน.หน่วยงาน

การเก็บรักษาเงิน ในวันทำการถัดไป ให้คณะกรรมการเก็บรักษาเงิน มอบเงินให้ จนท. การเงิน ลงลายมือชื่อรับเงินไว้ ในรายงานเงินคงเหลือประจำวันด้วย

การนำเงินส่งคลัง เงินที่เบิกจากคลัง หากจ่ายไม่หมดหรือไม่ได้จ่ายให้นำส่ง คืนคลังภายใน 15 วันทำการ นับจากวันที่รับเงินจากคลัง และเงินที่จ่ายแล้วหากมีการเรียกคืนให้ส่งคืนคลังภายใน 15 วัน นับจากวันเรียกคืน เงินรายได้แผ่นดินให้นำส่งเดือนละ 1 ครั้ง หากวันใดเกิน 10,000 บาท ให้นำส่งภายใน 3 วันทำการถัดไป ผู้มีหน้าหักภาษี ณ ที่จ่ายต้องนำส่งภายในวันที่ 7 เดือนถัดไป เงินนอกงบประมาณให้นำฝากคลังอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง

การจัดทำรายงาน รายงานประจำวัน รายงานเงินคงเหลือประจำวัน รายงานประจำเดือน งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร งบทดลอง รายงานรายได้และค่าใช้จ่าย รายงานเงินประจำงวด

การจัดทำรายงาน รายงานประจำปี งบแสดงฐานะการเงิน งบแสดงผลการดำเนินงาน งบกระแสเงินสด หมายเหตุประกอบงบการเงิน

การจ่ายเงิน การจ่ายเงินให้ผู้มีสิทธิที่ไม่สามารถมารับเงินได้ต้อง มีใบมอบฉันทะ หรือใบมอบอำนาจให้ ผู้อื่นรับแทน หลักฐานการจ่ายให้เป็นไปตามที่ กค. กำหนด หรือ ตามที่ได้รับความเห็นชอบจาก กค. โอนสิทธิเรียกร้องได้ตาม ระเบียบ กค ห้ามเรียกใบเสร็จหรือให้ผู้รับลงชื่อรับเงินโดยยังไม่ได้ จ่ายเงิน

การจ่ายเงิน ให้ประทับตรา “จ่ายเงินแล้ว” ในหลักฐานการ จ่ายให้ผู้จ่ายเงินลงลายมือชื่อรับรองการจ่าย เงินพร้อมชื่อผู้จ่ายตัวบรรจง และวันเดือนปี ที่จ่ายกำกับไว้ในหลักฐานการจ่ายเงินทุกฉบับ

การจ่ายเงิน การจ่ายเงินทุกรายการต้องบันทึกรายการ ในระบบในวันที่จ่าย ทุกสิ้นวันผู้ได้รับมอบหมายต้องตรวจสอบ รายการจ่ายเงินที่บันทึกไว้ในระบบ GFMIS กับหลักฐานการจ่ายในวันนั้น ต้องถือปฏิบัติทุกวัน

หลักฐานการจ่าย ใบเสร็จรับเงิน ใบสำคัญรับเงิน (กรณีเจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิไม่มีบร.) ใบรับรองการจ่าย(ใบรับรองแทนใบเสร็จ) (กรณีไม่อาจเรียก บร.ได้) กรณีกรมบัญชีกลางจ่ายเงินตรงให้เจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิ ให้ใช้รายงานในระบบตามที่กระทรวงการคลังกำหนด เป็นหลักฐานการจ่าย (ข้อ 40)

สาระสำคัญของใบเสร็จรับเงิน หลักฐานการจ่าย สาระสำคัญของใบเสร็จรับเงิน ชื่อ สถานที่อยู่ หรือที่ทำการของผู้รับเงิน วัน เดือน ปี ที่รับเงิน รายการแสดงการรับเงินระบุว่าเป็นค่าอะไร จำนวนเงินทั้งตัวเลขและตัวอักษร ลายมือชื่อผู้รับเงิน

หลักฐานการจ่าย กรณีส่วนราชการจ่ายเงินซึ่งไม่อาจเรียก บร.ให้ผู้รับเงินลง ชื่อรับเงินในใบสำคัญรับเงิน กรณี จนท.นำเงินไปจ่ายและไม่อาจเรียก บร. ให้ทำ ใบรับรองการจ่าย (ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน) โดยชี้แจง เหตุที่ไม่อาจเรียก บร.ได้ กรณี บร. มีสาระไม่ครบถ้วน ให้ จนท. ผู้จ่ายทำใบรับรอง การจ่าย และแนบ บร.นั้น ประกอบการตรวจสอบด้วย กรณี ขรก/ล.จ สำรองเงินส่วนตัวจ่ายก่อน และไม่อาจ เรียก บร.ได้ ให้ ทำใบรับรองการจ่ายเสนอต่อผู้มีอำนาจ เมื่อได้รับคืนให้ลงชื่อรับเงินใน ใบสำคัญรับเงิน

หลักฐานการจ่ายสูญหาย บร.สูญหายให้ใช้สำเนา และผู้รับเงินรับรอง หลักฐานการจ่ายอื่นสูญหาย ( เช่น ใบสำคัญรับเงิน) หรือไม่อาจเรียกบร.ได้ ให้ผู้จ่าย ทำใบรับรองการจ่าย โดยชี้แจงเหตุผล พฤติการณ์ที่สูญหายหรือไม่อาจ เรียกสำเนา บร.ได้ เสนอผู้หน.หน่วยงานเพื่อ พิจารณาอนุมัติ

ให้จ่ายเป็นเช็ค ยกเว้นการจ่ายที่วงเงินต่ำ วิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน ให้จ่ายเป็นเช็ค ยกเว้นการจ่ายที่วงเงินต่ำ กว่า 5,000 บาท จะจ่ายเป็นเงินสดก็ได้ กรณีซื้อ/เช่า/จ้าง ให้ออกเช็คในนาม “เจ้าหนี้” ขีดฆ่าคำว่า “หรือผู้ถือ” ออก และ ขีดคร่อม กรณีอื่นให้ออกเช็คสั่งจ่ายในนามเจ้าหนี้/ผู้มี สิทธิ ขีดฆ่า คำว่า “หรือผู้ถือ” ออก และ จะขีดคร่อมหรือไม่ก็ได้

การจ่าย เงินยืม

3. เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง) เงินยืม หมายถึง เงินที่ส่วนราชการจ่ายให้แก่ บุคคลใด ยืมเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการหรือปฏิบัติ ราชการอื่น การจ่ายเงินยืม 1. เงินงบประมาณ 2. เงินทดรองราชการ 3. เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง)

เงินยืมงบประมาณ 1. รายการค่าจ้างชั่วคราว สำหรับค่าจ้างซึ่งไม่มีกำหนดจ่าย เป็นงวดแน่นอนเป็นประจำ แต่จำเป็นต้องจ่ายให้ลูกจ้างแต่ ละวันหรือแต่ละคราวเมื่อเสร็จงานที่จ้าง 2. รายการค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ 3. รายการค่าสาธารณูปโภค เฉพาะค่าบริการไปรษณีย์โทรเลข 4. งบกลาง เฉพาะที่จ่ายเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึกษาบุตร เงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราว 5. งบรายจ่ายอื่น ๆ ที่จ่ายในลักษณะเกี่ยวกับ (1) (2) (3)

เงินยืมทดรองราชการ 1. งบบุคลากร เฉพาะค่าจ้างซึ่งไม่มีกำหนดจ่ายเป็นงวดแน่นอนเป็นประจำแต่จำเป็นต้องจ่ายให้ลูกจ้างแต่ละวันหรือ แต่ละคราวเมื่อเสร็จงานที่จ้าง 2. งบดำเนินงาน ยกเว้น ค่าไฟฟ้า 3. งบกลาง เฉพาะที่จ่ายเป็นเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาบุตรและค่ารักษาพยาบาล 4. งบอื่นที่จ่ายในลักษณะเช่นเดียวกับ (1) และ (2)

เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง/UC) จ่ายได้ตามวัตถุประสงค์ของ เงินนั้น ๆ การจ่ายเงินยืม เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง/UC) จ่ายได้ตามวัตถุประสงค์ของ เงินนั้น ๆ ยกเว้นกรณีเร่งด่วน ต้องได้รับอนุมัติจากหน.ส่วน

กรณีผู้ยืมไม่มีเงินใด ๆ ที่ส่วนราชการจะหักคืนเงิน การจ่ายเงินยืม กรณีผู้ยืมไม่มีเงินใด ๆ ที่ส่วนราชการจะหักคืนเงิน ยืมได้ ผู้ยืมต้องนำหลักทรัพย์วางประกันหรือหา บุคคลตามที่ กค.กำหนดมาทำสัญญาค้ำประกัน

วิธีปฏิบัติ ทำสัญญาเงินยืมตามแบบ กค. กำหนด 2 ฉบับ พร้อมประมาณการ การจ่ายเงินยืม ทำสัญญาเงินยืมตามแบบ กค. กำหนด 2 ฉบับ พร้อมประมาณการ แสดงประมาณการค่าใช้จ่าย และกำหนด ส่งคืน (ยืมเท่าที่จำเป็น) ได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจตามระเบียบ ห้ามให้ยืมรายใหม่โดยยังไม่ได้ชำระหนี้เก่า การจ่ายเงินยืมเพื่อเป็นคชจ.ไปราชการ ให้จ่ายได้ไม่เกิน 90 วันหากยืมเกินต้อง ขอตกลงกระทรวงคลัง วิธีปฏิบัติ

การรับคืนเงินยืม ออกใบรับใบสำคัญ (ตามแบบ กค.กำหนด) ออกใบเสร็จรับเงิน (เงินเหลือจ่าย) บันทึกการรับคืนในสัญญายืมเงิน

ยืมไปราชการประจำต่าง สนง. หรือเดินทาง กำหนดระยะเวลาส่งใช้คืน ยืมไปราชการประจำต่าง สนง. หรือเดินทาง ไปรับราชการประจำต่างประเทศหรือเดินทาง กลับภูมิลำเนาให้ส่งคืนทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ธนาณัติ ภายใน 30 วัน นับจากวันรับเงิน เดินทางไปราชการอื่นชั่วคราว ภายใน 15 วัน นับจากวันเดินทางกลับ ยืมปฏิบัติราชการอื่นๆ ภายใน 30 วัน นับ จากวันรับเงิน

การรับเงิน การรับเงินบริจาคต้องออกใบเสร็จรับเงิน ออกใบเสร็จรับทุกครั้งที่มีการรับเงินสด เช็ค ดร๊าฟ การรับเงินบริจาคต้องออกใบเสร็จรับเงิน บันทึกการรับเงินในระบบในวันที่รับเงินนั้น

การรับเงิน เจ้าหน้าที่ที่รับเงินต้องได้รับแต่งตั้ง กรณีรับเงินหลังปิดบัญชีให้บันทึกรับในระบบใน วันทำการถัดไป เมื่อสิ้นเวลารับจ่ายเงิน ให้จนท.ผู้จัดเก็บเงิน ต้อง นำส่ง จนท. การเงิน เจ้าหน้าที่การเงินต้องจัดทำรายงานเงินคงเหลือ ประจำวันเพื่อให้กรรมการตรวจนับ การจ่ายใบเสร็จให้จนท.ไปจัดเก็บเงิน ให้มีหลักฐานการ รับส่งใบเสร็จนั้นไว้ด้วย กรณียกเลิกใบเสร็จ ต้องนำติดไว้กับสำเนาในเล่ม

การรับเงิน ให้มีการตรวจสอบจำนวนเงินที่ จนท.จัดเก็บและนำส่ง กับหลักฐานและข้อมูลการรับที่บันทึกในระบบว่าถูกต้อง ครบถ้วน เมื่อตรวจสอบถูกต้องแล้วให้แสดงยอดรวมทั้งสิ้น ตาม บร. ที่รับในวันนั้นไว้ในสำเนา บร.ฉบับสุดท้ายและ ลงลายมือชื่อกำกับ

ใบเสร็จรับเงิน 1. ใช้ตามแบบ กค.หรือที่ได้รับความเห็นชอบ 2. จัดทำทะเบียนคุม 3. ใช้เฉพาะภายในปีงบประมาณ 4. รายงานภายในวันที่31 ตุลาคม ของปีงบประมาณถัดไป 5. เก็บรักษาไว้ในที่ปลอดภัย กรณีใบเสร็จรับเงินที่ยังไม่ได้ใช้สูญหาย 1. แจ้งความนับแต่ทราบว่าหาย 2. ติดประกาศยกเลิกไว้ในที่พบเห็นและตรวจสอบได้ง่าย 3.ทำหนังสือแจ้งเวียนการยกเลิกให้ส่วนราชการต่างๆ ทราบ

การเก็บรักษาเงิน การแต่งตั้งกรรมการเก็บรักษาเงินระดับ 3 หรือ เทียบเท่าในส่วนราชการนั้นอย่างน้อย 2 คน การแต่งตั้งกรรมการสำรองกรณีกรรมการไม่ สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้

การเก็บรักษาเงิน เมื่อสิ้นเวลารับจ่ายเงินให้จนท.การเงินจัดทำราย งานเงินคงเหลือ และส่งมอบให้กรรมการตรวจนับ กรรมการตรวจนับเงินสดคงเหลือ/เอกสารแทน ตัวเงิน ถูกต้องครบถ้วนตามรายงานเงินคงเหลือ ประจำวัน แล้วลงลายมือกรรมการทุกคน ก่อนเสนอ หน.หน่วยงาน ในวันทำการถัดไป ให้คณะกรรมการเก็บรักษาเงิน มอบเงินให้ จนท. การเงิน ลงลายมือชื่อรับเงินไว้ ในรายงานเงินคงเหลือประจำวันด้วย

การนำเงินส่งคลัง เกิน10,000 บาท ให้นำส่งภายใน 3 วันทำการถัดไป เงินรายได้แผ่นดินให้นำส่งเดือนละ 1 ครั้ง หากวันใด เกิน10,000 บาท ให้นำส่งภายใน 3 วันทำการถัดไป ผู้มีหน้าหักภาษี ณ ที่จ่ายต้องนำส่งภายใน วันที่ 7 เดือนถัดไป เงินนอกงบประมาณให้นำฝากคลังอย่างน้อยเดือนละ หนึ่งครั้ง

ตามนส.ที่กค.๐๔๒๓/ว๒ ๖๗ ลว.๓ สค.๕๘ เรื่องคู่มือการบัญชี ตามนส. สธ ๐๑๐๗/ว ๖๓ ลว.๑๑ มค.๖๐ ซ้อมความเข้าใจการนำเงินนอก งปม.ฝากธ.พาณิชย์กลับฝากคลังและนำข้อมูลเข้าระบบ GFMIS ตามนส.ที่กค.๐๔๒๓/ว๒ ๖๗ ลว.๓ สค.๕๘ เรื่องคู่มือการบัญชี ภาครัฐสำหรับส่วนราชการ เนื่องจากการบันทึกข้อมูลนำเข้าระบบGFยังไม่ครบถ้วนโดย เฉพาะเงินนอกงปม.ซึ่งทำให้ข้อมูลทางบัญชีไม่ครบถ้วนถูกต้องและ ไม่เป็นปัจจุบัน ปัจจุบันพบว่าส่วนราชการยังไม่ได้นำเงินนอกงปม.เข้าระบบGF ทุกสิ้นวัน ตาม บช.๐๑ แต่จะนำเข้าทุกสิ้นเดือนใน บช. ๑๐ ทำให้ข้อมูลในระบบ GFไม่ตรง ตามข้อเท็จจริง เช่น เงินฝากธนาคารในระบบกับเงินฝากธ.มียอดไม่ตรงกัน จึงกำหนดให้ส่วนราชการนำเงินนอกเข้าเป็นรายวันตั้งแต่ปีงปม.60

วงเงินบำรุงที่เก็บรักษา วงเงินบำรุงที่เก็บรักษาตามนส.สธ.๐๒๑๒/๕๑๙๐ ลว.๒๓ พย.๔๓ รายการ วงเงินบำรุงที่เก็บรักษา เงินสด ฝากธ.พาณิชย์ ฝากคลัง ๑. สำนักงานสาธารณสุขจ. ๑๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐ ส่วนเกินฝากคลังทั้งจำนวน ๒.โรงพยาบาลศูนย์ ๒,๕๐๐,๐๐๐ ” ๓.โรงพยาบาลทั่วไป ๑,๕๐๐,๐๐๐ ๔.โรงพยาบาลชุมชน ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๕. รพ.สต. ๕.๑ ในท้องที่มีธนาคาร ๕.๒ ในท้องที่ไม่มีธนาคาร ๕,๐๐๐ ๕๐๐.๐๐๐ ๖. เงินบำรุงที่ฝากประจำให้นำฝากคลังทั้งจำนวน ๗. เงินบริจาคเงินช่วยเหลือจากตปท.และเงินค้ำประกันสัญญาต่างๆให้นำฝากคลังทั้งจำนวน ตามร.เก็บรักษาฯ ให้นำเงินนอกฝากอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ดังนั้นเงินส่วนเกินทุกสิ้นเดือน ต้องนำฝากคลัง

081-8895843 kingkarn2009@hotmail.com