สังคมและการเมือง : Social and Politics

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
หลักและทฤษฏีกฎหมายมหาชน
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
พงษ์เดช วานิชกิตติกูล
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
กลุ่มเกษตรกร.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การแสดงเจตจำนงของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย
โดย ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
ศาสนาเชน Jainism.
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
(Code of Ethics of Teaching Profession)
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ให้นักศึกษาตอบคำถามในตารางที่2 ในใบกิจกรรม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สังคมและการเมือง : 03751112 Social and Politics สังคมและการเมือง : 03751112 Social and Politics : ที่มาสังคมมนุษย์ทางการเมือง : ความหมายสังคม : หน้าที่ของสังคมและการล่มสลาย 3-4 : 31 ส.ค.- ก.ย. 61

ที่มาของสังคมทางการเมือง ทฤษฎีสัญญาสังคม (Social Contract Theories of Society) เน้นสภาพธรรมชาติ (State of Nature) : ธอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) อธิบายว่า ระยะเริ่มมนุษย์ไม่ได้อยู่รวมกันในสังคมแต่แยกกัน อยู่ตามสภาพธรรมชาติ (State of nature) ใต้กฎธรรมชาติ (Natural law) ทำให้ไม่เหมาะสมกับการสร้างอารยธรรม พิจารณามนุษย์ในทางลบ และลักษณะต่างๆไม่ดี

ที่มาของสังคมทางการเมือง ทฤษฎีสัญญาสังคม (Social Contract Theories of Society) เน้นสภาพธรรมชาติ (State of Nature) : ธอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) อธิบายว่า ระยะเริ่มมนุษย์ไม่ได้อยู่รวมกันในสังคมแต่แยกกัน อยู่ตามสภาพธรรมชาติ (State of nature) ใต้กฎธรรมชาติ (Natural law) ทำให้ไม่เหมาะสมกับการสร้างอารยธรรม พิจารณามนุษย์ในทางลบ และลักษณะต่างๆไม่ดี

ที่มาของสังคม สภาพมนุษย์ : - ลักษณะโดดเดี่ยว (solitary) - ยากจน (poor) - น่าเกลียด (nasty) โหดร้าย (brutal) - ติดต่อกันระยะสั้น (short) - ไม่มีความรับผิดชอบ - ไม่มีความยุติธรรม

ที่มาของสังคม ข้อตกลง Hobbes เสนอ : บุคคลเป็นเจ้าของทุกสิ่งทุกอย่างตามที่ตนแสวงหา มาได้ มนุษย์ทำสงครามเพื่อความอยู่รอดของตน มนุษย์ตกกันทำสัญญา จะเลิกอยู่แบบตัวใครตัวมัน และใช้กำลังตามธรรมชาติ แต่จะอยู่รวมกันภายใต้การ ปกครองของ “องค์อธิปัตย์” (sovereign) เกิดอำนาจทาง การปกครองภายใต้รัฐบาล

: จอห์น ล็อค (John Locke) เสนอแนวคิดต่างจาก Hobbes เกี่ยวกับสภาพตาม ที่มาของสังคม : จอห์น ล็อค (John Locke) เสนอแนวคิดต่างจาก Hobbes เกี่ยวกับสภาพตาม ธรรมชาติและมนุษย์ - สภาพธรรมชาติของสังคมจะมีการจัดการปกครอง ที่มีระเบียบดีแล้ว (State of Organized Society) - ความไม่สมบูรณ์ของสภาพธรรมชาติ ทำให้มนุษย์ ที่เป็นผู้ตัดสินคดีที่กระทำความผิดกันเอง ซึ่งมีข้อบกพร่อง อยู่บางประการ

ที่มาของสังคม ข้อเสนอ Locke : อย่างถูกต้องและยุติธรรม กฎหมาย 1. การตั้งศาล (judicature) เพื่อตีความกฎหมาย อย่างถูกต้องและยุติธรรม 2. การตั้งฝ่ายบริหาร (executive) เพื่อที่จะรักษา กฎหมาย 3. การตั้งฝ่ายนิติบัญญัติ (legislature) เพื่อกำหนด หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการรักษาและดูแลคดีต่างๆ มนุษย์ยอมสละสิทธิการลงโทษ โดยยกสิทธิให้องค์กร ทำหน้าที่แทน = สัญญาร่วมกัน สังคมและรัฐบาลจะเกิดขึ้น

: ชอง ฌาคส์ รุสโซ (Jear Jacques Rousseau) ที่มาของสังคม : ชอง ฌาคส์ รุสโซ (Jear Jacques Rousseau) ยอมรับความคิดของ John Locke เกี่ยวกับมนุษย์ที่ อยู่ในสภาพธรรมชาติ และอยู่ภายใต้กฎธรรมชาติ Rousseau เชื่อว่า สภาพธรรมชาติมนุษย์เป็นคนดีมี ความเห็นอกเห็นใจในความทุกข์ยากของผู้อื่น ความรู้สึกจะ อยู่ร่วมกันเป็นสังคม และสังคมมีลักษณะเป็นของส่วนรวม

ที่มาของสังคม ข้อเสนอ Rousseau : จากมีการรวมเป็นสังคม : เจตนารมณ์ทั่วไป (general will) เกิดขึ้นภายหลัง จากมีการรวมเป็นสังคม : สังคมจะมีเจตนารมณ์ทั่วไปมุ่งพิทักษ์รักษาและให้ สวัสดิการแก่ส่วนรวม : เจตนารมณ์ทั่วไปเป็นแหล่งที่มาของกฎหมาย ทั้งหมด

ที่มาของสังคม ข้อเสนอ Rousseau : : เจตนารมณ์ทั่วไปจะกำหนดความสัมพันธ์ ระหว่างสมาชิกของสังคม : เจตนารมณ์ทั่วไปเป็นสิ่งสูงสุด รัฐเป็นเพียง ตัวแทน (agent) เจตนารมณ์ = อำนาจอธิปไตย

ความหมายของสังคม ”สังคม” เป็นกลุ่มคนที่มาอาศัยอยู่ร่วมกันภายใน ”สังคม” เป็นกลุ่มคนที่มาอาศัยอยู่ร่วมกันภายใน (1) อาณาบริเวณใดบริเวณหนึ่งเป็น (2) ระยะเวลา ยาวนานพอสมควร ผู้คนในกลุ่มมี (3) ความสัมพันธ์ซึ่ง กันและกัน โดยที่กำหนด (4) รูปแบบบรรทัดฐาน กฎเกณฑ์ บทบาทและกิจกรรมต่างๆ เพื่อการอยู่รวมกัน เป็นถาวร

”Aristotle” เป็นนักปราชญ์ชาวกรีก (384-322 ก่อน ความหมายของสังคม ”Aristotle” เป็นนักปราชญ์ชาวกรีก (384-322 ก่อน ค.ศ.) เชื่อว่า มนุษย์ตามสภาพธรรมชาติต้องมีชีวิตอยู่ร่วมกับบุคคลอื่น มีการติดต่อสัมพันธ์กันและกัน ไม่สามารถมีชีวิตอย่างอิสระ ตามลำพังคนเดียว Aristotle เน้นถึงว่า ไม่มีมนุษย์ผู้ใดอยู่อย่างโดดเดี่ยวใน โลก มนุษย์ผู้เดียวไม่สามารถสืบพันธุ์ ไม่อาจป้องกันตนเอง และหาเลี้ยงชีพได้นาน ไม่อาจบำรุงสติปัญญา ความคิดและ มีกำลังใจเพียงพอ

“สังคม” เป็นกลุ่มคนขนาดใหญ่ที่สุด ซึ่งแต่ละคนมีความ ความหมายของสังคม Arnold W. Green (1972) “สังคม” เป็นกลุ่มคนขนาดใหญ่ที่สุด ซึ่งแต่ละคนมีความ รู้สึกเป็นสมาชิกของกลุ่ม โดยประกอบด้วย - มีประชากร - มีการจัดระเบียบในการอยู่ร่วมกัน - มีเวลา/สถานที่/อาณาบริเวณและอาศัยอยู่อย่างถาวร - มีการแบ่งงานกันทำ - มีการแบ่งปันผลประโยชน์เพื่อให้ดำรงชีวิตอยู่ได้

“สังคม” คือ คนจำนวนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน ความหมายของสังคม พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542) “สังคม” คือ คนจำนวนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน ตามระเบียบและกฎเกณฑ์ โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญร่วมกัน ประสาท หลักศิลา (2514) “สังคม” หรือการที่มนุษย์พวกหนึ่งๆ ที่มีอะไรส่วนใหญ่ เหมือนกัน/คล้ายคลึงกัน เช่น ทัศนคติ คุณธรรม ธรรมเนียม ประเพณีและได้มาอยู่รวมกันเป็นพวกเดียวกัน โดยที่มีความ สัมพันธ์กันและมาอยู่ในเขตเดียวกันอย่างถาวร

ความหมายของสังคม “สังคม” หมายถึง กลุ่มคนที่อยู่ร่วมกันในอาณาบริเวณ พัทยา สายหู (2524) “สังคม” หมายถึง กลุ่มคนที่อยู่ร่วมกันในอาณาบริเวณ ที่มีขอบเขตกำหนด มีความสัมพันธ์อันเกิดจากการประพฤติ ปฏิบัติต่อกัน มีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และยอมรับ แบบแผนหรือวิธีการกฎเกณฑ์อย่างเดียวกัน

สังคมมนุษย์ Human Society : สังคม คือ “กลุ่มของมนุษย์กลุ่มหนึ่ง ซึ่งมีส่วนร่วมในระบบกระทำการที่สามารถเลี้ยงตนเองได้ (a self- sufficient system of action) ซึ่งสามารถจะดำรงอยู่ ได้นานกว่าอายุของมนุษย์คนหนึ่ง กลุ่มมนุษย์นี้อย่าง น้อยจะต้องแสวงหาสมาชิกใหม่ด้วยวิธีการผสมพันธุ์ ตามธรรมชาติ” Aberle, Cohen, Davis, Levy and Sutton. 1950. “ The Functional Pre-Requisites of a Society.” Ethics. Vol. 60. January 1950

สาระสำคัญของความหมาย : ประการที่ 1 – ระบบกระทำการที่สามารถเลี้ยงตนเอง ระบบกระทำการทุกระบบจะต้องอยู่ภายใต้สถานการณ์หนึ่ง (a situation) เสมอ สถานการณ์ = มนุษย์ = สิ่งแวดล้อมที่ไม่ใช่มนุษย์ (non- human environment) = สังคมอื่นๆ ระดับภายในและภาย นอกสังคมเดียวกัน สังคม (a society)

สาระสำคัญของความหมาย : ประการที่ 1 – ระบบกระทำการที่สามารถเลี้ยงตนเอง -: ระบบกระทำการสังคมจะต้องจัดเตรียมเพื่อเผชิญกับ สถานการณ์ต่างๆ ของสิ่งแวดล้อมที่ใกล้ชิด และยังส่ง ผลกระทบต่อสังคม -: ลักษณะสามารถเลี้ยงตนเอง โดยไม่ต้องติดต่อกับสังคม ภายนอกระยะหนึ่งก็ยังอยู่ได้ ระบบสังคมมีความสามารถ ทำหน้าที่ที่จำเป็นต่างๆ ของสังคม (functional prerequisites)

สาระสำคัญของความหมาย : ประการที่ 2 – ความสามารถอยู่นานกว่าอายุมนุษย์ 1 คน -: สังคมจะต้องสามารถสร้างสมาชิกใหม่แทนสมาชิกเก่า โดยการอบรมสั่งสอน (Socialization) -: สมาชิกของสังคมบางส่วนต้องมาจากด้วยวิธีการผสม พันธุ์ตามธรรมชาติ เพราะต้องการแยกสังคมออกจาก กลุ่มทางสังคม เช่น สมาคม วัด/สำนักสงฆ์ และสโมสร การแสวงหาสมาชิก + การเพิ่มด้วยผสมพันธ์ตามธรรมชาติ + การเพิ่มด้วยการอพยพ การสู้รบ/กวาดต้อน

สาระสำคัญของความหมาย สังคม = วัฒนธรรม + วัฒนธรรม เป็นกฎเกณฑ์กำหนดพฤติกรรมทางสังคม ของมนุษย์ = นามธรรม - แบบแผนวัฒนธรรมของสังคม อาศัยการสังเกตจาก พฤติกรรมทางสังคม (Social Behavior) - สังคม 2 สังคม/มากกว่าอาจจะมีวัฒนธรรมคล้ายกัน เช่น ไทย ลาว เขมร - สังคมเดียวกันอาจจะมีวัฒนธรรมแตกต่างกันแต่ละ กลุ่ม (Sub-culture)

สาระสำคัญของความหมาย : ประการที่ 3 – สังคมแต่ละสังคมอาจไม่จำเป็นต้องพึ่ง ตนเองด้านทรัพยากรตลอดไป -: สังคมต้องมีทรัพยากรมากพอควรเพื่อใช้ภายในสังคม = ไม่มีเลยไม่ได้ -: สังคมต้องมีการแลกเปลี่ยนทรัพยากรกับสังคมอื่น แต่ ไม่ใช่กลายเป็นสังคมเดียวกัน

หน้าที่สำคัญของสังคม : ประการที่ 1 – สังคมจัดสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การ ปฏิบัติการทางเพศของสมาชิกเพื่อการเพิ่ม สมาชิกใหม่ด้วยวิธีการสืบพันธุ์ (Sex Reproduction) -: การบำรุงรักษาความต่อเนื่องทางชีวะ (Maintenance of Biological Continuation) ของสมาชิกสังคม - การรักษาระดับจำนวนสมาชิกที่เหมาะสม ไม่มาก หรือน้อยเกินไป - การติดต่อกับสังคมอื่นจะต้องคำนึงถึงผลประโยชน์ ความอยู่รอดสังคมตนเอง

หน้าที่สำคัญของสังคม -: การบำรุงรักษาความต่อเนื่องทางชีวะ (Maintenance of Biological Continuation) ของสมาชิกสังคม - การจัดการให้มีความสัมพันธ์ระหว่างเพศของสมาชิก (Heterosexual Relationship) ผลิตสมาชิกใหม่ - สมาชิกจำนวนพอเหมาะต้องทำหน้าที่ตามบทบาท (Role) และสถานภาพ (Status) เพื่อความคงอยู่ สังคม - สังคมจำเป็นต้องปรับตัว จัดการและเปลี่ยนแปลง ภาวะแวดล้อมธรรมชาติให้เหมาะสม

หน้าที่สำคัญของสังคม : ประการที่ 2 – การอบรมวัฒนธรรม/การให้สมาชิกรู้จัก กฎเกณฑ์พฤติกรรมทางสังคม (Socialization or Enculturation) -: สมาชิกใหม่สังคมต้องรู้และเข้าใจ”โครงสร้างแห่ง การกระทำ” (Structure of Action) : กฎเกณฑ์ ทางสังคม บทบาท (Role) สถานภาพ (Status) วิถีปฏิบัติและถ่ายทอดแบบแผนทางวัฒนธรรมของ สังคม

หน้าที่สำคัญของสังคม : ประการที่ 3 – การติดต่อสื่อสาร (Communication) ที่ให้มีภาษาร่วมกันของสมาชิก -: การจัดให้มีการติดต่อสื่อสารระหว่างสมาชิกในสังคม เพื่อรับรู้และเข้าใจร่วมกัน ด้วยระบบสัญลักษณ์ (Symbolic Communication) - การรักษาค่านิยมร่วมกัน (Common Value) การ เรียนรู้และความเข้าใจร่วมกัน = Enculturation - การสร้างอำนาจบังคับ (Sanction) ในกิจกรรมทาง สังคม

หน้าที่สำคัญของสังคม : ประการที่ 4 – หน้าที่ทางเศรษฐกิจ (Economic Function) -: การจัดให้มีการผลิต (Production) การกระจาย (Distribution) และการบริโภค (Consumption) - สังคมที่มีการจัดการเศรษฐกิจดี อาหารและ ทรัพย์สิน สมาชิกสมบูรณ์แข็งแรง : ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ : วิธีการจัดการทางเศรษฐกิจ

หน้าที่สำคัญของสังคม : ประการที่ 5 – หน้าที่จัดระเบียบและรักษาความสงบ (Maintenance of Order) -: การจัดระเบียบการปกครองและความยุติธรรม ระงับ ข้อพิพาท การขัดผลประโยชน์ และความไม่สงบ - การจัดระเบียบภายใน (Internal Order) - การจัดระเบียบภายนอก (External Order)

เงื่อนไขการสลายตัวของสังคม : ประการที่ 1 – การไม่สืบต่อทางชีวะในหมูสมาชิกสังคม -: การที่มีสมาชิกสังคมลดลงเหลือน้อยเกิดไป - อัตราการเกิด - อัตราการตาย - อัตราการย้ายถิ่น : ประการที่ 2 –สมาชิกสังคมเฉื่อยชาเกินขนาด -: การที่มีสมาชิกสังคมไม่อยากทำอะไร ไม่ต้องการ ปฏิบัติหน้าที่ การขาดสิ่งจูงใจและกำลังใจที่จะกระทำ - โครงสร้างสังคมไม่สมบูรณ์ - ไม่มีประสิทธิภาพ

เงื่อนไขการสลายตัวของสังคม : ประการที่ 3 –สังคมเกิดกลียุค -: การเกิดภาวะปราศจากความยุติธรรม ขาดกฎหมาย และปทัสถาน (Norm) - สมาชิกขาดความมั่นใจ - เกิดเอารัดเอาเปรียบ - กดขี่ รังแก : ประการที่ 4 –สังคมถูกดูดกลืนเป็นส่วนหนึ่งของสังคมอื่น -: การถูกกลืนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสังคมอื่น จนขาด ความเป็นเอกลักษณ์ตนเองและไม่รู้สึกผูกพัน - การแพ้สงคราม - การขยายทางวัฒนธรรม

ความสำคัญทางสังคมและการเมือง 1. ความจำเป็นต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาต่างๆ ทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองให้สมดุล 2. ความจำเป็นต้องดำเนินการพัฒนาสมาชิก ในสังคมให้ความสามารถดำเนินบทบาทและ ความสัมพันธ์ในสังคมอย่างเหมาะสม 3. ความจำเป็นต้องยกระดับความเป็นอยู่และ ส่งเสริมความสงบสุขของสังคม

ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมและการเมือง “การเมือง” (Politics) กระบวนการที่บุคคลบางคน/ กลุ่มบุคคลบาง กลุ่มในการได้มาซึ่งอำนาจ (Power) และพยายาม ใช้อำนาจควบคุม/อยู่เหนือบุคคลอื่น ด้วยการดำเนิน วิถีทางต่างๆ : - การแข่งขันเพื่อจะแสวงหาอำนาจ - ผลกระทบต่อสังคมและประชาชนส่วนใหญ่ - การดูแลและจัดการให้อยู่ร่วมกันอย่างเป็นระเบียบ

ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมและการเมือง “การปกครอง” (Government) การดำเนินงานเกี่ยวกับการบริหาร การจัดการ การวางระเบียบกฎเกณฑ์เพื่อต้องการให้สังคมอยู่ อย่างสงบสุข - การดูแล, คุ้มครอง - การบริหาร - การออกกฎเกณฑ์-กฎหมาย

ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมและการเมือง “อำนาจ” (Power) ความสามารถของบุคคล/กลุ่มบุคคลในการ ที่จะควบคุม/มีอิทธิพลต่อการกระทำของบุคคล อื่นๆ

ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมและการเมือง “การเมือง การปกครอง และอำนาจ” การเมือง การปกครองและอำนาจจะมีความ เกี่ยวข้องกันมาก ในการปกครองเพื่อก่อให้เกิดการบำบัดทุกข์ บำรุงสุขในสังคม จำเป็นต้องอาศัยอำนาจบังคับใช้ สนับสนุนระบบการเมือง จึงจะดำเนินการสำเร็จ

ประเภทอำนาจ ประเภทอำนาจจำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ 1. จำแนกออกเป็น 2 ประเภท - อำนาจตามกฎหมายกำหนด (Legitimate Power) - อำนาจไม่เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด (Illegitimate Power) 2. จำแนกออกเป็น 4 ประเภท - สิทธิอำนาจ (Authority) - อำนาจครอบงำ (Dominance) - อำนาจดึงดูด (Attraction) - อำนาจบังคับ (Force)

ประเภทอำนาจ 1.1 อำนาจตามกฎหมายกำหนด (Legitimate อำนาจจำแนกออกเป็น 2 ประเภท 1.1 อำนาจตามกฎหมายกำหนด (Legitimate Power) เป็นอำนาจที่ใช้ในวิถีที่ประชาชนทั่วไปรับรู้ ว่าเป็นสิ่งถูกต้อง เป็นสิทธิสังคมและจำเป็นในสังคม - ระเบียบ กฎและข้อบังคับ - กฎหมาย

ประเภทอำนาจ 1.2 อำนาจไม่เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด อำนาจจำแนกออกเป็น 2 ประเภท 1.2 อำนาจไม่เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด (Illegitimate Power) เป็นอำนาจที่ประชาชนไม่ ต้องการ ไม่ให้การสนับสนุน และผู้คนในสังคมไม่ พึงพอใจให้มีหรือเกิดขึ้น - ประกาศคณะปฏิวัติ/ ปฏิรูป/ อื่นๆ - กฎหมู่/ ศาลเตี้ย/ อำนาจนักเลงอันธพาล

ประเภทอำนาจ 1.1 สิทธิอำนาจ (Authority) เป็นอำนาจอ้างถึงตาม อำนาจจำแนกออกเป็น 4 ประเภท 1.1 สิทธิอำนาจ (Authority) เป็นอำนาจอ้างถึงตาม กฎหมาย กำหนดผู้ใช้สิทธิ์ตามที่มีกำหนดในกฎหมาย - สิทธิอำนาจตามธรรมเนียม/ประเพณี (Traditional Authority) เช่น การครองราชย์สมบัติ การสืบเชื้อพระบรม วงศ์ศานุวงศ์ - สิทธิอำนาจตามบุคลิกภาพ (Charismatic Authority) เช่น ผู้นำการเมือง - สิทธิอำนาจตามกฎหมายและเหตุผลกำหนด (Legal Rational Authority)

ประเภทอำนาจ 2.2 อำนาจครอบงำ (Dominance) จะเป็นลักษณะ อำนาจจำแนกออกเป็น 4 ประเภท 2.2 อำนาจครอบงำ (Dominance) จะเป็นลักษณะ อำนาจครอบงำการทำหน้าที่ของคนอื่นในองค์กร/กลุ่ม เช่น หัวหน้ากลุ่ม 2.3 อำนาจดึงดูด (Attraction) จะเป็นอำนาจลักษณะ ทำให้เกิดความหลงใหล และศรัทธาทำให้ผู้อื่นสมัครใจ กระทำตาม เช่น ผู้นำทางศาสนา อดีต/ผู้นำทางการเมือง

ประเภทอำนาจ 2.4. อำนาจบังคับ (Force) จะเป็นอำนาจที่มีลักษณะ อำนาจจำแนกออกเป็น 4 ประเภท 2.4. อำนาจบังคับ (Force) จะเป็นอำนาจที่มีลักษณะ การใช้กำลังบังคับเหนือผู้อื่นเพื่อที่จะทำให้กระทำตามความ ต้องการของตนเอง

เหตุผลมนุษย์อยู่รวมกันเป็นสังคม 1. มนุษย์มีลักษณะทางกายภาพอ่อนแอมากกว่า สัตว์อื่นๆ 2. มนุษย์มีระยะการเป็นทารกนานต้องการ การดูแลและคุ้มครอง 3. มนุษย์มีความสามารถทางด้านสมองค้นคิดประดิษฐ์สิ่งต่างๆ 4. มนุษย์มีความสามารถสร้างวัฒนธรรมและ ถ่ายทอดต่อกัน