บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การควบคุมวัตถุดิบสำหรับร้านอาหารโดยใช้ RFID ร่วมกับ Web Service
Advertisements

ระบบการจัดเก็บในคลังสินค้า
Warehouse and Material Handling
Chapter 6 Inventory Management
การจัดการสินค้าคงคลัง
Basic Knowledge By Kawinthorn Saicharoen
Basic EOQ By Kawinthorn Saicharoen
เอกสารเรียนวันที่ 23 สิงหาคม 2556 การบริหารวัสดุ คำนิยาม วัตถุประสงค์
เอกสารเรียนวันที่ 20 มกราคม 2555 การบริหารวัสดุ คำนิยาม วัตถุประสงค์
เอกสารเรียนวันที่ 27 มกราคม 2555
เอกสารเรียนวันที่ 7 กันยายน 2555
เอกสารเรียนวันที่ 12 กรกฎาคม 2556 การเลือกทำเลที่ตั้งโรงงาน
Regional Value Chain: กลยุทธ์ โอกาส ประสบการณ์ และข้อควรระวัง
Enterprise Resources Planning (ERP )
Being Excellent the whole Value Chain
LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา มกราคม 2559.
LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ธันวาคม 2558.
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
Logistics and Supply Chain Management. การจัดการโลจิสติกส์ กระบวนการจัดการ การเคลื่อนย้าย และจัดเก็บจากผู้ขายวัตถุดิบไปยัง ผู้บริโภคสุดท้าย การวางแผนการปฏิบัติงาน.
Management system at Dell
การผลิตแบบลีน (Lean Production)
Product Overview & ERP Concept
ตัวแบบสินค้าคงคลัง (Inventory Model)
บทที่ 5 Logistics Controlling for Cost Reducing and Profit Increasing
The supply chain management system at
ระบบการผลิต อาจารย์ วรันลักษณ์ ภักดิ์ใจดี.
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
เทคนิคการแก้ไขปัญหาแบบ QCC (QC Circle Techniques)
การวิเคราะห์งบการเงิน
โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานบริษัทในเครือวี-เซิร์ฟ กรุ๊ป
การจัดการการผลิตและการปฎิบัติการ
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
E. I. SQUARE. All rights reserved
13 October 2007
การบริหารคลังสินค้า.
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ.
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
การจัดการต้นทุน การขนส่งทางท่อ ( Pipeline Transportation )
บทที่ 8 การบริหารสินค้าคงเหลือ
เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน (Economics for Everyday Life)
บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
หลักการและแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาการทำงาน
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
บทที่1 ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 6 การบริหารและการวางแผนการผลิต
การจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า
บทที่ 7 การจัดเก็บวัสดุและหีบห่อ
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
อ.สิรินี ว่องวิไลรัตน์ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด
MG414 Supply Chain and Logistics Management
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
บทที่ 7 การจัดเก็บวัสดุและหีบห่อ
บทที่1 ความรู้ทั่วไปสำหรับ การจัดการโซ่อุปทาน
Inventory Control Models
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การจัดการกระจายสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า
การตัดสินใจซื้อ หรือ ผลิต
บทที่ 5 การวางแผนผังกระบวนการผลิต
เก็บตกวันวาน “สานพลังสร้างมาตรการองค์กร เพื่อความปลอดภัยทางถนน”
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน College of Logistics and Supply Chain
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
บทที่ 7 การจัดเก็บวัสดุและหีบห่อ
Warehouse Management Systems
บทบาทของโลจิสติกส์ต่อเศรษฐกิจและสังคม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ yalada

EOQ การบริหารต้นทุนสินค้าคงคลัง (Inventory Carrying Cost) เป็นการบริหารจัดการ เพื่อให้มีการถือครองสินค้าคงคลังน้อยที่สุด ซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เพื่อประสิทธิภาพของการบริหารสินค้าคงคลังให้ตํ่าสุด EOQ yalada

การบริหารจัดการคลัง มีองค์ประกอบที่สำคัญ ทำเลที่ตั้งของคลังสินค้า (Location Design) การออกแบบโครงสร้างคลังสินค้า (Construction Design) การออกแบบการใช้งาน (Utility Design) สิ่งจำเป็นและอำนวยความสะดวก (Warehouse Facilities) การเตรียมการเกี่ยวกับบุคลากร (Warehouse Personal) การวางผังตารางกำหนดพื้นที่ใช้สอยในคลังสินค้า yalada

การส่งมอบแบบกันบัง (Kanban Method) Kanban Philosophy เป็นแนวคิดด้านปรัชญาในการผลิตต่อเมื่อมีคำสั่งซื้อและมีการกำหนดระยะเวลาส่งมอบเข้าไปสายการผลิต โดยตรงโดยไม่ต้องผ่านเข้าไปเก็บในคลังสินค้า ระบบของ Kanban จึงไม่มีทั้งวัตถุดิบคงคลังและสินค้าคงคลัง yalada

การจัดการสินค้าคงคลังด้วยวิธีลีน (Lean pull Method) แนวคิดด้านการจัดการเกี่ยวกับการลดสินค้าคงคลังแบบลีน ได้ถูกนำมาใช้ในการดำเนินการธุรกิจในปัจจุบัน ซึ่งเน้นการแข่งขันและเพิ่มขีดความสามารถ แนวคิดแบบลีนจะสอดคล้องกับภารกิจของโลจิสติกส์และโซ่อุปทานที่เป็นเลิศ (Logistics & Supply Chain) โดยการผลิตแบบลีน มุ่งที่การลดสต๊อกหรือ Inventory โดยการผลิตต่อเมื่อลูกค้ามีคำสั่งซื้อ yalada

EOQ การจัดซื้อปริมาณที่ประหยัดต่อครั้ง (Inventory Downsizing Management) EOQ Inventory Downsizing เป็นเรื่องของการจัดการความสมดุลของต้นทุนในการถือครองสินค้าคงคลัง (Holding Cost) ต่อต้นทุนปริมาณสินค้าที่คุ้มค่าและประหยัดที่สุดในการสั่งซื้อแต่ละออเดอร์ (Economies From Order Quantities) yalada

EOQ Safety Stock yalada ที่มา : ดร.ธนิต โสรัตน์

ต้นทุนสินค้า Product Costs % จากราคาขาย วัตถุดิบ / บรรจุภัณฑ์ 50 % ค่าการผลิต 10 % ค่าการตลาด และการขาย 10 % ค่าการจัดการ ธุรการ บุคคล การเงิน 10 % กำไร 10 % ลอจิสติกส์ 10 % รวม 100 % yalada

ต้นทุนลอจิสติกส์ Logistics Costs ข้อมูลประเทศอเมริกา ปี 2546 % จากราคาขาย ค่าขนส่งสินค้า 3.5 % ค่าปฏิบัติงานคลังสินค้า 2.4 % ค่าการนำข้อมูลสั่งซื้อเข้าระบบ 0.8 % ค่าการจัดการทั่วไป 0.9 % ค่าเสียโอกาสเพื่อที่จะเก็บสินค้าคงคลัง 2.0 % รวมทั้งสิ้น 9.6 % yalada

การใช้ตัวแบบการสั่งซื้อ EOQ ศึกษาสินค้าเพียงตัวเดียว ความต้องการประจำปีต้องกำหนดมาให้ ความต้องการกระจายเท่าๆกันตลอดทั้งปี เวลานำของสินค้าคงที่ การสั่งซื้อมีการส่งของในครั้งเดียว ไม่มีส่วนลดให้กับการสั่งซื้อปริมาณมาก yalada

วงจรสินค้าคงคลัง ช่วงเวลาก่อนสินค้า มาถึง Q ปริมาณสินค้าในคลังสินค้า Q จุดสั่งซื้อ สินค้า (Reorder point) O จุดที่รับ สินค้า จุดสั่งสินค้า จุดรับสินค้า Q T (เวลา) ช่วงเวลาก่อนสินค้า มาถึง (Lead time) เวลานำ ระดับการใช้ 50 หน่วย/วัน Q=350 หน่วย ระดับการ สั่งซื้อเพิ่ม100 หน่วย yalada

การสั่งซื้อมากครั้ง (5 ครั้ง/ปี) ทำให้มีสินค้าคงคลังน้อย สินค้าคง คลัง สินค้า เฉลี่ย Q ระยะเวลา 1 ปี t การสั่งซื้อมากครั้ง (5 ครั้ง/ปี) ทำให้มีสินค้าคงคลังน้อย สินค้าคงคลัง สินค้าเฉลี่ย Q ระยะเวลา 1 ปี t O 2 yalada การสั่งซื้อน้อยครั้ง (2ครั้ง/ปี) ทำให้มีสินค้าคงคลังมาก

การคำนวณ Q : ปริมาณการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง O : ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง(บาท) C : ค่าเก็บรักษาต่อหน่วย ต่อปี(บาท) D : ปริมาณการใช้ตลอดปี(หน่วย) P : ราคาสินค้าต่อหน่วย TC : ค่าใช้จ่ายรวมตลอดปี yalada

จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ = (ครั้ง/ปี) จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ = (ครั้ง/ปี) ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง = (บาท/ปี) ปริมาณสินค้าเฉลี่ย = หน่วย ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าต่อหน่วยต่อปี = ค่าใช้จ่ายสำหรับตัวสินค้าแต่ละตัว = (บาท/ปี) ค่าใช้จ่ายรวม = (บาท/ปี) yalada

ปริมาณการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง ค่าใช้จ่ายรวม = ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา+ ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งเครื่องจักร ถ้า = สินค้าคงคลังสูงสุด = = = yalada

ถ้า P =การผลิตหรือการส่งของ U =อัตราการใช้งาน “ รอบการผลิต = “ ช่วงเวลาการผลิต = สินค้าคงคลังสูงสุดและสินค้าคงคลังเฉลี่ย และ yalada

ตัวอย่าง 8.1 บริษัทผู้จำหน่ายแบตเตอรี่แห่งหนึ่ง จำหน่าย ตัวอย่าง 8.1 บริษัทผู้จำหน่ายแบตเตอรี่แห่งหนึ่ง จำหน่าย แบตเตอรี่ปีละ 9,600 ชุด คาดว่าจะมีจำนวนขายในปริมาณเดียวกันทุกปี ค่าใช้จ่ายการเก็บรักษาต่อปี 6,400 บาทและค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อต่อปี 7,500 บาท/ครั้ง ถ้าบริษัททำงานปีละ 300 วัน จงหา ก) ควรซื้อครั้งละกี่ชิ้น (ให้หาค่า EOQ) ข) จะสั่งซื้อปีละกี่ครั้ง ค) รอบเวลาการสั่งซื้อเป็นระยะเวลาเท่าไร ง) ค่าใช้จ่ายรายปีเป็นเท่าไรถ้าสั่งซื้อแบบ EOQ yalada

จาก D : ปริมาณการใช้ตลอดปี 9,600 ชุด O : ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง 7,500 บาท C : ค่าเก็บรักษาต่อหน่วยต่อปีต่อชุด 6,400 บาท Q : จำนวนครั้งในการสั่งซื้อเป็นหน่วยต่อครั้ง จะได้ ชิ้น yalada

หรือทุกๆ 5 วัน จำนวนครั้งในการสั่งซื้อแต่ละปี ครั้ง จำนวนครั้งในการสั่งซื้อแต่ละปี ครั้ง รอบเวลาการสั่งซื้อ วัน หรือทุกๆ 5 วัน ค่าใช้จ่ายรายปี บาท yalada

ตัวอย่าง 8.2 บริษัทแห่งหนึ่ง ผู้จำหน่ายแบตเตอรี่จำหน่าย ตัวอย่าง 8.2 บริษัทแห่งหนึ่ง ผู้จำหน่ายแบตเตอรี่จำหน่าย แบตเตอรี่ปีละ 9,600 ชุด คาดว่าจะมีจำนวนขายในปริมาณเดียวกันทุกปี ค่าใช้จ่ายการเก็บรักษาต่อปี 6,400 บาทและค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อต่อปี 7,500 บาท/ครั้ง ถ้าบริษัททำงานปีละ 300 วัน จงหา ก) ควรซื้อครั้งละกี่ชิ้น (ให้หาค่า EOQ) ข) จะสั่งซื้อปีละกี่ครั้ง ค) รอบเวลาการสั่งซื้อเป็นระยะเวลาเท่าไร ง) ค่าใช้จ่ายรายปีเป็นเท่าไรถ้าสั่งซื้อแบบ EOQ yalada

บาท คำนวณหา EOQ อัน จำนวนครั้งในการสั่งซื้อแต่ละปี ครั้ง ตัวอย่าง บริษัทแห่งหนึ่งผลิตมอเตอร์เพื่อให้กับบริษัทผลิตเครื่องสูบน้ำจำนวนปีละ 4,900 หน่วยราคาหน่วยละ 750 บาทค่าสั่งซื้อครั้งละ 300 บาทค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาคิดเป็น 20% ของราคาสินค้า ให้หาจำนวนการสั่งซื้อที่ดีที่สุดและค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษารายปี คำนวณหา EOQ อัน จำนวนครั้งในการสั่งซื้อแต่ละปี ครั้ง ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าต่อปี บาท yalada

คำนวณต่อ ต้นทุนรวม TC = แทนค่า บาท yalada

รอบเวลาของการผลิตที่ดีที่สุด ระยะเวลาการผลิตหนึ่งรอบ  ตัวอย่าง8.3 บริษัทแห่งหนึ่งจำหน่ายล้อแม็กปีละ 60,000 หน่วยมีกำลังผลิตวันละ 900 หน่วย สามารถผลิตได้สม่ำเสมอตลอดปี ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาปีละ 24 บาท/หน่วยค่าใช้จ่ายในการติดตั้งเครื่องจักรครั้งละ 56 บาท ถ้าโรงงานทำงานปีละ 300 วัน ให้หา  ปริมาณการผลิตที่ดีที่สุด  ค่าใช้จ่ายต่ำที่สุดในการเก็บรักษาและการติดตั้งเครื่องจักรเพื่อการผลิต  รอบเวลาของการผลิตที่ดีที่สุด ระยะเวลาการผลิตหนึ่งรอบ  yalada

คำนวณหา  ปริมาณการผลิตที่ดีที่สุด คำนวณหา  ปริมาณการผลิตที่ดีที่สุด เมื่อ D 60,000 ชิ้น Q ปริมาณการผลิต C 24 บาท/ชิ้น S 56 บาท U 60,000 ชิ้น/ปี (300 วัน ผลิตได้วันละ 200 ชิ้น) P 900 ชิ้น วิธีทำ 1. จำนวนการผลิตที่เหมาะสม = 600 = =467 หน่วย yalada

คำนวณหา = 5,600+5,600 ค่าใช้จ่ายรวม = 11,200 บาท  ค่าใช้จ่ายต่ำที่สุดในการเก็บรักษาและการติดตั้งเครื่องจักรเพื่อการผลิต ค่าใช้จ่ายรวม = ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา+ ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งเครื่องจักร = = 5,600+5,600 ค่าใช้จ่ายรวม = 11,200 บาท yalada

คำนวณหา(ต่อ) รอบเวลาของการผลิตที่ดีที่สุด  = = = 3 วัน = = = 3 วัน  ระยะเวลาการผลิตหนึ่งรอบ = = = 0.66 วัน  yalada

การหาปริมาณการสั่งซื้อกรณีสินค้ามีส่วนลด yalada

ให้หาจำนวนการสั่งซื้อที่ดีที่สุดและค่าใช้จ่ายรวม ตัวอย่างที่ 8.3 สปานวดตัวเพื่อสุขภาพแห่งหนึ่งต้องการซื้อน้ำยานวดตัวขนาดขวดละ 5 ลิตรปีละ 8,100 ขวดค่าสั่งซื้อครั้งละ 320 บาทค่าเก็บรักษาขวดละ 9 บาทต่อปีในราคาที่ให้ส่วนลดตามปริมาณการสั่งซื้อ ร้านที่จำหน่ายมีส่วนลดให้ดังนี้ ขนาดที่ซื้อ ราคาต่อหน่วย ซื้อตั้งแต่ 100 – 499 ขวด ซื้อตั้งแต่ 500 – 799 ขวด ซื้อตั้งแต่ 800 – 999 ขวด ซื้อตั้งแต่ 1,000 ขวดขึ้นไป ราคาขวดละ 200 บาท ราคาขวดละ 180 บาท ราคาขวดละ 170 บาท ราคาขวดละ 160 บาท ให้หาจำนวนการสั่งซื้อที่ดีที่สุดและค่าใช้จ่ายรวม yalada

คำนวณหา D = 8,100 บาท S = 320 บาท H = 9 บาท คำนวณหา EOQ = = = 758.95 ขวดหรือ 758 ขวด ค่าใช้จ่ายรวมต่อปี = = = 3,411+3,419.50+1,458,000 บาท = 1,464,830.50 บาท yalada

ควรสั่งซื้อครั้งละ 1,000 ขวด เพราะมีค่าใช้จ่ายต่ำที่สุด ค่าใช้จ่ายรวมต่อปี = = 3,600+3,240+1,377,000 บาท = 1,383,840 บาท ค่าใช้จ่ายรวมต่อปี = = 4,500+2,592+1,296,000 บาท = 1,303,092 บาท ควรสั่งซื้อครั้งละ 1,000 ขวด เพราะมีค่าใช้จ่ายต่ำที่สุด yalada

การจัดการสินค้าคงคลังด้วยวิธีลีน (Lean pull Method) แนวคิดด้านการจัดการเกี่ยวกับการลดสินค้าคงคลังแบบลีน ได้ถูกนำมาใช้ในการดำเนินการธุรกิจในปัจจุบัน ซึ่งเน้นการแข่งขันและเพิ่มขีดความสามารถ แนวคิดแบบลีนจะสอดคล้องกับภารกิจของโลจิสติกส์และโซ่อุปทานที่เป็นเลิศ (Logistics & Supply Chain) โดยการผลิตแบบลีน มุ่งที่การลดสต๊อกหรือ Inventory โดยการผลิตต่อเมื่อลูกค้ามีคำสั่งซื้อ yalada

ปัจจัยสนับสนุนกระบวนการลีนจิสติกส์ (Lean Logistic) (ต่อ) โลจิสติกส์แบบลีน (Lean Logistics) ปัจจัยสนับสนุนกระบวนการลีนจิสติกส์ (Lean Logistic) (ต่อ) 1. การขนส่งและความถี่เพื่อการส่งมอบ เนื่องจากค่าใช้จ่ายการขนส่งเป็นตัวแปรสำคัญในเกือบทุกธุรกิจโดยเฉพาะการขนส่งขาเข้า (Inbound Transportation) ดังนั้นสิ่งที่ต้องพิจารณาเป็นพิเศษเกี่ยวกับการขนส่งขาเข้า ได้แก่ กำหนดให้ผู้ส่งมอบเพิ่มความถี่ในการส่งมอบ ลดการโอนถ่ายของระหว่างโรงงาน การหลีกเลี่ยงเส้นทางหรือช่องทางการกระจายที่ซ้ำซ้อนและไร้ประสิทธิภาพ การมุ่งใช้อุปกรณ์สนับสนุนการขนส่งอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ในสินทรัพย์ (Asset Utilization) สูงสุด yalada

ปัจจัยสนับสนุนกระบวนการลีนจิสติกส์ (Lean Logistic) (ต่อ) โลจิสติกส์แบบลีน (Lean Logistics) ปัจจัยสนับสนุนกระบวนการลีนจิสติกส์ (Lean Logistic) (ต่อ) 2. กำหนดขนาดรุ่นสั่งซื้ออย่างเหมาะสม หลักการ Lean Logistic ได้มุงเน้นแนวคิด “Total Cost” เกี่ยวกับการจัดหาจัดซื้ออย่างเหมาะสมที่สุด นอกจากจะลดรุ่นการจัดซื้อแล้ว ยังลดการจัดเก็บสต็อกเผื่อในปริมาณมาก ขจัดต้นทุนความสูญเปล่าออกจากระบบ yalada

ปัจจัยสนับสนุนกระบวนการลีนจิสติกส์ (Lean Logistic) (ต่อ) โลจิสติกส์แบบลีน (Lean Logistics) ปัจจัยสนับสนุนกระบวนการลีนจิสติกส์ (Lean Logistic) (ต่อ) 3. การบรรจุหีบห่อ การบรรจุหีบห่อเป็นปัจจัยหนึ่งที่สนับสนุนให้เกิดกระบวนการไหลอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการกำหนดเส้นทางการขนส่งเข้าอย่างเหมาะสมที่สุด โดยเฉพาะข้อมูลเกี่ยวกับการหีบห่อ เช่น จำนวนหน่วยต่อขนาดรุ่นหีบห่อ (Part Per Lot Size) จำนวนหีบห่อต่อพาเลต (Number of Lot Per Pallet) และประเภทวัสดุหีบห่อที่ใช้ป้องกันความชำรุด โดยข้อมูลเหล่านี้จะถูกนำมากำหนดขนาดภาระหีบห่อแต่ละรุ่น เส้นทางการจัดส่ง อุปกรณ์ขนถ่ายที่เหมาะสมและรูปแบบการจัดเก็บที่มีความปลอดภัย yalada

ปัจจัยสนับสนุนกระบวนการลีนจิสติกส์ (Lean Logistic) (ต่อ) โลจิสติกส์แบบลีน (Lean Logistics) ปัจจัยสนับสนุนกระบวนการลีนจิสติกส์ (Lean Logistic) (ต่อ) 4. การไหลอย่างต่อเนื่อง มุ่งเน้นการไหลของงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สอดคล้องกับอุปสงค์หรือความต้องการโดยไม่มีการติดขัด (Interruption) ดังนั้นจึงได้นำระบบแบบดึงที่สามารถตอบสนองได้ตามความต้องการใช้งาน โดยเฉพาะการขนส่งขาเข้าของชิ้นงานที่ต้องสอดคล้องกับรอบเวลากระบวนการ (Production Cycle) และกำหนดการผลิต yalada

ปัจจัยสนับสนุนกระบวนการลีนจิสติกส์ (Lean Logistic) (ต่อ) โลจิสติกส์แบบลีน (Lean Logistics) ปัจจัยสนับสนุนกระบวนการลีนจิสติกส์ (Lean Logistic) (ต่อ) 5. ความสามารถติดตามการไหล มุ่งเน้นให้ความสำคัญกับการไหลของสารสนเทศเพื่อติดตามงานว่าอยู่ในตำแหน่งใดและสามารถเรียกดูได้ทันที เรียกว่า “Pipeline Visibility” โดยมีเทคโนโลยีสนับสนุนมากมาย เช่น ระบบดาวเทียมติดตามตำแหน่ง (Global Positioning System: GPS) การใช้คลื่นความถี่ (Radio Frequency) ในระบบคลังสินค้า เป็นต้น yalada

ปัจจัยสนับสนุนกระบวนการลีนจิสติกส์ (Lean Logistic) (ต่อ) โลจิสติกส์แบบลีน (Lean Logistics) ปัจจัยสนับสนุนกระบวนการลีนจิสติกส์ (Lean Logistic) (ต่อ) 6. การวัดผลทางโลจิสติกส์ การดำเนินงานตามแนว Lean Logistics จะต้องมีการกำหนดมาตรวัดผลเพื่อใช้ติดตามประเมินประสิทธิภาพและแสดงผลลัพธ์ให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) โดยมาตรวัดเหล่านี้ประกอบด้วย ความถี่การส่งมอบของแต่ละผู้ส่งมอบ ช่วงเวลานำตั้งแต่การออกคำสั่งซื้อจนกระทั่งเกิดการส่งมอบให้กับผู้สั่งซื้อ อัตราการส่งมอบที่ทันเวลา อัตราการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์ขนถ่ายและทรัพยากรสนับสนุน พื้นที่สำหรับจัดเก็บวัตถุดิบของผู้ส่งมอบและผู้ผลิต ระดับสต็อกโดยรวมของระบบห่วงโซ่อุปทาน อัตราการเติมเต็มคำสั่งซื้อของผู้ส่งมอบ (Order fill rate by supplier) yalada