การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของกระบวนการเรียนการสอน
Advertisements

ความฝันเกี่ยวกับ นศ. มหิดล
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน
รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
การศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับศตวรรษที่ ๒๑
What is MEQ Workshop on “MEQ Examination for Preclinical Years”
การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
เวชจริยศาสตร์และการคิดเชิงวิพากษ์
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
การผลิตบัณฑิตกับวิชาการสายรับใช้สังคม
ผศ.ดร.อังสนา บุญธรรม ภาควิชาอนามัยชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล
การนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอน
19 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้องประชุมสักทอง1
โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โครงงานวิทยาศาสตร์ (ว 23202)
โรงเรียนในเตาพิทยาคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
Action Research รศ. ดร. วิโรจน์ สารรัตนะ
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การวัดและประเมินการปฏิบัติ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
Dr. Montri Chulavatnatol
จุดประสงค์การเรียนรู้
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
คุณลักษณะของครู กทม. ในศตวรรษที่ 21
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
กฎหมายการศึกษาไทย.
การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking- AT)
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
วิจัยทางการพยาบาล ดร.อัญชลี จันทาโภ.
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง
รหัส รายวิชาหนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
บทที่ 4 กระบวนการวินิจสาร
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.)
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
Big Picture ความสำคัญและที่มา ความหมายของการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
Career Path บุคลากรสายงานกิจการนิสิต
จิตสำนึกคุณภาพ.
แผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปี มน. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เตรียมพัฒนานิสิตสู่ประชาคมโลก
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
Thailand 4.0 บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software).
Family assessment.
การบริหารทีมงานและภาวะผู้นำ
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันเอกหญิง ดร. นงพิมล นิมิตรอานันท์
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
บริษัทแพสคอนส์ได้จัดหลักสูตรอบรมสัมมนา Strategic Thinking for the Leaders ในวัน ศุกร์ ที่ 19 มิถุนายน 2558 ที่ โรงแรมลันตานา รีสอร์ท รัชดา เวลาสัมมนา.
นักวิชาการกับงานวิชาการเพื่อสังคม (และตำแหน่งทางวิชาการ)
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ อาจารย์ ตีรวิชช์ ทินประภา สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ ค.บ. (คณิตศาสตร์-ภาษาอังกฤษ) เกียรตินิยม ค.ม. (การศึกษาคณิตศาสตร์)

ข้อตกลงในการเรียน ไม่อนุญาตให้นำอาหาร และเครื่องดื่มทุกชนิดเข้าห้องเรียน และงดใช้โทรศัพท์ทุกกรณี

ข้อตกลงในการเรียน แต่งกายสุภาพ

การตัดสินผลการเรียน 1. ด้านเนื้อหา  ความรู้ 30 คะแนน นำเสนอกิจกรรมพัฒนาทักษะ 40 คะแนน - เดี่ยว 20 คะแนน - กลุ่ม 20 คะแนน แก้ปัญหาในห้องเรียน 20 คะแนน 2. ด้านจิตพิสัย เข้าชั้นเรียน 10 คะแนน  รวมเป็น 100 คะแนน

ทักษะในศตวรรษที่ 21 3R (Reading Writing Arithemetics) 2. 7C - Critical Thinking and Problem Solving - Creativity and Innovation - Cross- cultural Understanding - Collaboration, Teamwork and Leadership - Communications, Information, and Media Literacy - Computing and ICT Literacy - Career and Learning Skills ทักษะและกระบวนทางคณิตศาสตร์ 1. การแก้ปัญหา 2. การให้เหตุผล 3. การสื่อสาร สื่อความหมาย และการนำเสนอ 4. การเชื่อมโยง 5. การคิดริเริ่มสร้างสรรค์

1. จงเติมตัวเลข 1-9 ลงในตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสข้างล่าง โดยมีผลบวกในแนวนอน แนวตั้ง แนวทแยงมีค่าเท่ากับ 15

2. จงเติมตัวเลข 1-25 ลงในตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสข้างล่าง โดยมีผลบวกในแนวนอน แนวตั้ง แนวทแยงมีค่าเท่ากับ 65

มีสามเหลี่ยมทั้งหมดกี่รูป??

เฉลย

ถ้า A B C และ D แทนเลขโดด (0, 1, 2, 3, ถ้า A B C และ D แทนเลขโดด (0, 1, 2, 3,...,9)ที่ไม่ซ้ำกัน และ ABCDx4=DCBA จงหาค่า A B C และ D 2178

จากภาพ จำนวนลูกบาศก์มีทั้งหมดกี่ลูก 1 3 = 1+2 6 = 1+2+3 10 = 1+2+3+4 15 = 1+2+3+4+5 ตอบ 35

เฉลย a=5 b=9 c=2 d=3 e=4 f=7 g=1 h=6 และ i=8

เท่ากันหรือไม่??

คำตอบที่ถูกต้องคืออะไร เพราะเหตุใด?? เฉลย D

มีดินสอทั้งหมดกี่แท่ง?? เฉลย 18*4 = 72 แท่ง

ลูกเต๋าเคลื่อนที่ดังภาพ จงหาเขียนแต้มหน้าลูกเต๋าตามรอยเดิน

2 1 5 6 3 4 5 5 6 2 1 4 1 3

กำหนดมุม 19 องศามาให้ จงสร้างมุม 1 องศา โดยใช้สันตรงและวงเวียน

ปัญหาทางคณิตศาสตร์ (Mathematics Problem) สถานการณ์ที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ซึ่งเผชิญอยู่และต้องการหาคำตอบ โดยที่ยังไม่รู้วิธีการหรือขั้นตอนที่จะได้คำตอบของสถานการณ์นั้นทันที การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ (Mathematics Problem Solving) กระบวนการในการประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ ขั้นตอน/กระบวนการแก้ปัญหา กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา และประสบการณ์ที่มีอยู่ไปใช้ในการค้นหาคำตอบของปัญหาทางคณิตศาสตร์

พิจารณาจากตัวผู้แก้ปัญหา - Routine Problem - Non-routine Problems ประเภทปัญหาทางคณิตศาสตร์ พิจารณาจากตัวผู้แก้ปัญหา - Routine Problem - Non-routine Problems พิจารณาจากลักษณะของปัญหา - One-step problems or simple translation problems - Multiple-step problems or complex translation problems - Open-ended problems - Process problems - Applied problems or situation problem - Puzzle problems พิจารณาจากจุดประสงค์ของปัญหา - Problem to find an answer - Problem to prove

Understanding the problem ประเภทปัญหาทางคณิตศาสตร์ Looking back Carrying out the plan Devising a plan Understanding the problem กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา

กระบวนการแก้ปัญหาแบบพลวัต สถานการณ์ ทำความเข้าใจปัญหา ตรวจสอบคำตอบ วางแผนแก้ปัญหา ดำเนินการตามแผน

กระบวนการแก้ปัญหาแบบพลวัต

กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ Guessing and checking Making a table Working backward Writing an equation Adapting a different point of view Using logical reasoning Using indirect reasoning Looking for a pattern Making a drawing or diagram Accounting for all possibilities

ปัญหาทางคณิตศาสตร์ มีจำนวน 7 หลัก ซึ่งตำแหน่งหน้าสุด 2 ตัวและท้ายสุด 2 ตัว เป็นตัวเลข 7 โดยไม่ทราบว่าตรงกลาง 3 ตำแหน่งคือตัวเลขใด แต่รู้ว่าจำนวนนี้หารด้วย 31 และ 53 ลงตัว จงหาจำนวนนี้ 77xxx77

ปัญหาทางคณิตศาสตร์ นายลิฟท์ เจมส์และแจ๊ค มีเหรียญรวมกันได้ 21 เหรียญ ถ้า นายลิฟท์นำเงินของตนไปให้นายเจมส์ 2 เหรียญ นายเจมส์นำเงินของตนไปให้นายแจ๊ค 3 เหรียญ นายแจ๊คนำเงินของตนไปให้นายลิฟท์ 1 เหรียญ จะทำให้ทุกคนมีจำนวนเหรียญเท่ากัน ถามว่าเดิมนายลิฟท์ เจมส์และแจ๊คมีเหรียญคนละกี่เหรียญ

ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ณ ศาลไคฟงท่านเปาได้รับพิจารณาคดีฆาตกรรมคดีหนึ่ง ซึ่งมีผู้ต้องหาและคำให้การดังนี้ ลิฟท์ : แจ็คเป็นคนฆ่าครับ ผมเห็นกับตา เจมส์ : ท่านเปาอย่าเชื่อลิฟท์ครับ ลิฟท์พูดโกหก เพชร : ท่านเปาปล่อยผมเถอะครับเพราะผมไม่ได้เป็นคนฆ่า แจ็ค : ผมเห็นครับ ลิฟท์เป็นคนฆ่าครับ ท่านเปาปวดหัวกับคำให้การของทั้ง 4 คนมากแต่ก็ทราบมาว่ามีคนพูดความจริงเพียงคนเดียวเท่านั้น นักศึกษาคิดว่าใครเป็นคนลงมือฆ่า

ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ชาย 6 คน ลิฟท์ เจมส์ เพชร อ้น ฟิฟ และแจ็ค ยืนเข้าแถวตอนตามลำดับ โดยมีเงือนไขดังนี้ นายแจ็ค ไม่ยืนติดกับนายเจมส์ นายแจ็ค ยืนอยู่ในลำดับก่อนนายลิฟท์ นายลิฟท์ ยืนติดนายอ้น นายฟิฟ ยืนอยู่ลำดับที่ 4 ถ้านายแจ็คยืนติดและอยู่หลังนายเพชร แล้วคนที่มีโอกาสอยู่ในลำดับที่ 5 ได้แก่ใคร

ปัญหาทางคณิตศาสตร์ นายแจ๊คได้เสียชีวิตอย่างปริศนา ดวงวิญญาณได้ออกจากร่าง ซึ่งมาถึงทางแยกที่จะผ่านไปประตูสวรรค์หรือนรก เทวดาซึ่งเป็นคนเฝ้าประตูสวรรค์จะพูดจริงเสมอ ส่วนปีศาจซึ่งมีหน้าที่เฝ้าประฟิฟรกจะพูดเท็จเสมอ แต่เทวดาและปีศาจคู่นี้จะสลับที่กันเฝ้าประตู และมีรูปร่างคล้ายคลึงกัน ดวงวิญญาณของนายแจ๊คจะต้องถามผู้เฝ้าประตูเพียงผู้เดียวและคำถามเดียวเท่านั้น ดวงวิญญาณของนายแจ๊คจะต้องถามว่าอย่างไร จึงจะทราบว่าประตูไหนไปสู่สวรรค์หรือไปสู่นรก

ปัญหาทางคณิตศาสตร์ กาลครั้งหนึ่งนานแล้ว มีนักพนัน 2 คนที่มีชื่อนายลิฟท์และนายแจ็ค โดยทั้งสองคนตกลงเล่นเกมกันและมีโอกาสชนะเท่าๆกัน ทั้งสองคนตกลงกันว่าใครเป็นผู้ชนะ 5 เกมแรกก่อนจะเป็นผู้ได้รับรางวัลเงินสดหนึ่งล้านบาท แต่ปรากฏว่าขณะเล่นเกมนั้นเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันทำให้เกมต้องยุติ ซี่งขณะนั้นนายลิฟท์ชนะ 4 เกม ส่วนนายแจ็คชนะ 3 เกม จึงอยากทราบว่าจะแบ่งเงินรางวัลอย่างไรจึงจะยุติธรรมทั้งสองฝ่าย