งานกลุ่มวัยผู้สูงอายุ ปี 2562

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
งาน Palliative care.
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ตัวชี้วัดมุ่งเน้น ตัวชี้วัดที่ 6
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
การส่งรายงาน งานมะเร็ง ปี ๒๕๖๐
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑
MOU การดำเนินงานผู้สูงอายุ
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการ (คพสก.)
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
ระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
การลงข้อมูล LTC ปี ลงข้อมูลผ่านเวปไซด์ : bit.ly\cmpho_ltc/2560
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดูแลผู้สูงอายุเครือข่ายพนมสารคาม
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานกลุ่มวัยผู้สูงอายุ ปี 2562 ตัวชี้วัด : ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ ครบ 7 องค์ประกอบ (ร้อยละ 70) ระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ หมายถึง มีการดำเนินงานครบ 7 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. มีระบบการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพ และมีข้อมูลผู้สูงอายุ ที่จำเป็นต้องได้รับการส่งเสริมสุขภาพและการดูแลช่วยเหลือระยะยาว 2. มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 3. มีผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager) และผู้ดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุ (Caregiver) หรือ อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ 4. มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home Health Care) จากสถานบริการสู่ชุมชนโดยบุคลากรสาธารณสุข และทีมสหสาขาวิชาชีพ/ ทีมหมอครอบครัว 5. มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล 6. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง โดยท้องถิ่น ชุมชน มีส่วนร่วม และมีแผนการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคล (Care Plan) 7. มีคณะกรรมการ (ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ) บริหารจัดการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน หรือ มีคณะกรรมการกองทุนตำบล

5,000 บาท/คน/ปี จ้างเหมา Care Giver 300 บาท/เดือน (3,600 บาท/ปี) เข้าร่วมโครงการ LTC สปสช.จะสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง 5,000 บาท/คน/ปี จ้างเหมา Care Giver 300 บาท/เดือน (3,600 บาท/ปี) ค่าวัสดุ ค่าตอบแทน FCT (นอกเวลา) 1,400 บาท/ปี

หลักเกณฑ์การพิจารณาความพร้อมของ อปท หลักเกณฑ์การพิจารณาความพร้อมของ อปท.ในการดำเนินงานระบบการดูแลด้านสาธารณสุข สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long term Care : LTC) 1. ความพร้อมด้านเอกสาร/ข้อมูล 1. อปท.กรอกแบบแสดงความจำนง สมัครเข้าร่วมโครงการ LTC 2. มีรายชื่อผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 3. มีสำเนาบัญชี ธกส. 2. ความพร้อมด้านบุคลากรและหน่วยจัดบริการ 1. มีผู้รับผิดชอบงานใน อปท. 2. มี Care Manager ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรกรมอนามัย 3. มี Care Giver ครบตามสัดส่วนต่อผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 4. มีหน่วยจัดบริการ : ศูนย์/รพ./รพ.สต. 5. มีCare Manager จัดทำ Care plan ทุกราย ที่ได้รับงบประมาณ 3. ความพร้อมของ อปท. 1. มีการแต่งตั้งอนุกรรมการ LTC 2. มีคณะอนุกรรมการ LTC พิจารณาเห็นชอบCP และคณะกรรมการ กองทุนฯ อนุมัติเบิกจ่าย 3. อปท.สามารถโอนงบประมาณให้หน่วยจัดบริการ ภายใน 30 – 45 วัน หลังจากได้รับการโอนงบจาก สปสช.

มีโครงสร้าง + บุคลากร (สามารถรับเงินได้) แนวทางการบริหารจัดการค่าบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง หลักสำคัญในการออกแบบระบบ ๑. เน้นบูรณาการในระดับพื้นที่: บริการทางการแพทย์ (สธ.) + บริการด้านสังคม (มท. + พม.) ๒. คำนึงถึงความยั่งยืน+เป็นไปได้-งบประมาณในอนาคต กองทุน LTC (๕,๐๐๐ บ./ผู้สูงอายุพึ่งพิง/ปี) ๑ ๒ ๓. การมีส่วนร่วม กองทุนตำบล ๔๕ บ./ปชก. + MF • อปท. -หน่วยงานหลักในการบริหารระบบ + การสนับสนุนของหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่ ๔. ขยายระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (ในพื้นที่) หน่วยงาน บุคคล Care manager (CM) Caregiver (CG) ๑ ๑ หน่วยบริการ สป. สถานบริการ ๒ ๒ ศูนย์.. มท. ศูนย์.. พม. มีโครงสร้าง + บุคลากร (สามารถรับเงินได้) ๓ 3 ๔

115 รพ.สต. โอน (แห่ง) รอโอน (แห่ง) 100 15 106 9 ร้อยละ 86.96 13.04 สรุปจำนวนตำบลที่เข้าร่วมโครงการ LTC (สปสช.) แยกรายอำเภอ ปี 2562 สรุปการโอนงบประมาณของ อปท. ปี 2562 ลำดับ อำเภอ จำนวนตำบล/อปท ตำบล/อปท. ที่เข้าโครงการ LTC ร้อยละ ที่ยังไม่เข้า LTC 1 เมืองเชียงใหม่ 16 / 11 8 /6 50 8 / 5 2 ดอยสะเก็ด 14 / 14 6 / 6 42.8 8 / 8 3 สันป่าตอง 11 / 13 11 /12 100 0 /1 4 สารภี 12 / 12 5 / 5 41.6 7 / 7 5 แม่แตง 13 / 13 46.1 6 หางดง 11 / 12 3 /3 27.2 8 / 9 7 สันทราย 6 / 5 6 / 7 8 แม่ริม 11 / 11 5 /5 45.4 9 พร้าว 11 / 10 9 /9 81.8 2 / 1 10 ฝาง 8 / 10 62.5 3 / 5 11 สันกำแพง 10 / 10 60 4 / 5 12 เชียงดาว 7 / 9 2 / 2 28.5 5 / 7 13 แม่แจ่ม 7 / 8 14 แม่อาย 15 อมก๋อย 4 / 4 66.6 2 / 3 16 จอมทอง 17 ฮอด 18 แม่ออน 3 / 3 19 แม่วาง 5 / 6 20 ดอยเต่า 33.3 21 สะเมิง 80 1 / 1 22 ดอยหล่อ 23 ไชยปราการ 75 24 เวียงแหง 25 กัลยานิวัฒนา รวม 204 / 210 115 / 115 56.37 89 / 95 จำนวน อปท. ที่เข้าร่วมโครงการฯ (แห่ง) หน่วยจัดบริการ การโอนงบ LTC จาก อปท. ให้หน่วยจัดบริการ 115 ศูนย์ฟื้นฟูฯ รพ.สต. โอน (แห่ง) รอโอน (แห่ง) 100 15 106 9 ร้อยละ 86.96 13.04 92.17 7.82 อปท.ที่ยังไม่โอนงบ LTC จำนวน 9 แห่ง ได้แก่ อบต. อมก๋อย ปัญหาคือ ขาดคณะกรรมการ LTC อบต.แม่นาวาง อำเภอแม่อาย ปัญหาคือ ขาดคณะกรรมการ LTC ทต.สันพระเนตร อำเภอสันทราย ปัญหาคือ รอพิจารณา CP กำลังเปิดบชใหม่ ทต.บ้านแปะ อำเภอจอมทอง ปัญหาคือ เพิ่งเข้าโครงการ ไม่มี CM ทต.บ้านแม อำเภอสันป่าตอง ปัญหาคือ อยู่ระหว่างตั้งศูนย์ฯ รอเบิกจ่าย ทต.สันป่าตอง อำเภอสันป่าตอง ปัญหาคือ อยู่ระหว่างตั้งศูนย์ รอเบิกจ่าย ทต.หนองผึ้ง อำเภอสารภี ปัญหาคือ พิจารณา CP ล่าช้า รอเบิกจ่ายแล้ว อบต.โป่งแยง อำเภอแม่ริม ปัญหาคือ ขาดคณะกรรมการ LTC อบต.บ้านกลาง อำเภอสันป่าตอง ปัญหาคือ อยู่ระหว่างตั้งศูนย์ รอเบิกจ่าย

การแก้ไขปัญหา / การพัฒนา เป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ Care plan ผ่านการอนุมัติแล้วทั้งหมด 3,611 ฉบับ (จำนวนผู้สูงอายุเป้าหมาย จำนวน 3,627 คน) สถานการณ์ ปัจจุบัน มีจำนวนตำบลที่ต้องดำเนินงานทั้งหมด 204 ตำบล ผ่านเกณฑ์ทั้งสิ้น 115 ตำบล =คิดเป็นร้อยละ 56.37 Care manager ผ่านการอบรม 243 คน / Caregiver ผ่านการอบรม 1,594 คน ข้อมูลจากรายงานประจำเดือน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561 ประเด็น การแก้ไขปัญหา / การพัฒนา เป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ ตำบลต้นแบบ Long Term Care ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ผู้สูงอายุได้รับการประเมินและจัดทำแผนการดูแลรายบุคคล มี Care Manager ผ่านการอบรมครบทุกตำบล มี Caregiver ผ่านการอบรมครบทุกตำบล มีการบริหารจัดการงบประมาณ/เบิกจ่ายโอนงบประมาณ Long Term Care ของ อปท.ในทุกตำบล เร่งแจ้งนโยบายหรือแนวทางการดำเนินงาน LTC ให้ทุกอปท./ทุกตำบล เพื่อให้มั่นใจและเข้าร่วมโครงการ LTC แจ้งให้ทุกตำบลดำเนินงาน LTC ให้ผ่านเกณฑ์ 7 องค์ประกอบ 2. พัฒนาข้อมูลการคัดกรอง/การรายงานข้อมูลเชิงคุณภาพ ผ่านโปรแกรม 3 C : Care Manager Caregiver Care Plan

ปัจจัยสำคัญที่จำเป็นในการปิด GAP GAP ที่ค้นพบ ขาดการบูรณาการทำงาน ยังไม่มีคณะกรรมการ LTC ระดับจังหวัด/อำเภอ การบริหารจัดการงบประมาณ LTC การโอนเงินยังไม่ครบตามเป้าหมาย การจัดเก็บข้อมูลรายงานของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ขาดความเชื่อมโยงระหว่างระบบโปรแกรม สปสช.และกรมอนามัย 1. แจ้งนโยบายการทำงาน LTC ปี 2562 ถึงทุกตำบล 2. ติดตาม กำกับ เยี่ยมพื้นที่ทำงาน LTC ร่วมแก้ไขปัญหา และวางแผนงานร่วมกันจังหวัด+อำเภอ+ตำบล 3. ตรวจสอบข้อมูลรายงานให้ถูกต้อง/ ตรวจสอบ การโอนและการเบิกจ่ายงบประมาณ แผนการดำเนินงาน/กิจกรรมสำคัญ (Essential task) เพิ่มความครอบคลุมของ อปท.เข้าร่วมโครงการ Long Term Care สร้างความเข้าใจเรื่องระเบียบการเบิกจ่ายงบประมาณ พัฒนาศักยภาพ Care Manager /Caregiver / Care Plan พัฒนาตำบล Long Term Care ผ่านเกณฑ์ 7 องค์ประกอบ ปัญหา อุปสรรค -อปท.ไม่มั่นใจในการเข้าร่วมโครงการ LTC จึงยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ อปท.บางแห่งยังไม่มีการเบิกจ่ายงบประมาณ /ไม่ได้โอนงบประมาณให้หน่วยบริการในพื้นที่ ทำให้ไม่สามารถขับเคลื่อนงาน LTC ได้ - Care Manager มีการเปลี่ยนงาน/ย้ายงาน/โยกย้าย จึงทำให้ไม่มีเจ้าหน้าที่บริหารจัดการงาน LTC ครอบคลุมทุกตำบล

แผนการพัฒนาการดำเนินงาน LTC ปีงบประมาณ 2562 จัดประชุมชี้แจงนโยบายแนวทางการดำเนินงานให้กับ อปท.ทุกแห่ง และอปท.ที่ยังไม่ได้สมัครเข้าร่วมโครงการ โดยประสานงานร่วมกับ สปสช.เขต 1 (จัดแล้ววันที่ 11ธค.61) จัดประชุมคณะกรรมการ/คณะทำงานพัฒนาคุณภาพผู้สูงอายุระดับจังหวัด (สสจ.เป็นผู้ช่วยเลขา) (จัดแล้ววันที่18กพ.62) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเยี่ยมเสริมพลังและติดตามผลการดำเนินงาน LTC และหารือแนวทางเพื่อแก้ไขปัญหา เป็นรายอำเภอ โดยจัดประชุม 4 โซนบริการในพื้นที่ (2 ครั้ง/ปี) กลุ่มเป้าหมายเป็น จนท. อปท./สธ./CM/CG/คณะอนุฯ LTC (ดำเนินการวันที่ 13 ,15,19,21 มีค.62 ได้แก่ อำเภอจอมทอง อำเภอพร้าว อำเภอแม่ริม และอำเภอเมือง) เพิ่มความครอบคลุม ของ อปท.เข้าร่วม LTC ร่วมกับ ทีม สปสช. เขต จัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจการบริหารจัดการกองทุน LTC /จัดประชุมการใช้โปรแกรม LTC และ 3C (จัดอบรมทั้ง 25 อำเภอแล้ว 2 วัน / 2 รุ่น วันที่ 5 – 6 กพ.62) สร้างความเข้าใจเรื่องระเบียบ การเบิกจ่ายงบประมาณ สำรวจข้อมูล ตำบล LTC ที่ต้องการอบรม CM เพิ่มและแจ้งเป้าหมายให้ศูนย์อนามัยที่ 1 เพื่อวางแผนจัดอบรมฟื้นฟูศักยภาพ CM เพิ่มองค์ความรู้และเป็นพี่เลี้ยงให้ทีมทำงานดูแลผู้สูงอายุในพื้นที่ / สสจ.ชม จัดทำโครงการฯ อบรม mini CM เพื่อทำงานตำบล LTC (จะดำเนินการอบรม ในวันที่ 5 เม ย.62) จัดทำทะเบียนรายชื่อผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงให้ถูกต้องครบถ้วน วางแผนจัดอบรม Caregiver ให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้านในพื้นที่เป้าหมาย พัฒนาศักยภาพ CM/CG แจ้งให้พื้นที่ประเมินตนเองปีละ 1-2 ครั้ง (ทุกตำบล) ในไตรมาสที่ 1 และ 2 (ส่งหนังสือแจ้งพื้นที่แล้ว ให้ประเมินตนเองภายใน 22 กพ.62) กรณีประเมินไม่ผ่าน จัดประชุมทาง Web conference เพื่อส่งเสริมพัฒนาและประเมินซ้ำทุกไตรมาส การประเมินตำบล LTC

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ 053 211048-50 ต่อ 433 , 434 ภัทรินท์ นาคสุริยะ หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ โทร 089 8382564 จันทร์ทิมา ขุนบำรุง ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง LTC โทร 089 7589216 อารีรัศมิ์ แสนจิตต์ ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ โทร 089 9529029