การสืบค้นงานวิจัยออนไลน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
Advertisements

ฐานข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ ที่ห้องสมุดบอกรับให้ข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ตั้งแต่ปี 1960
วิเคราะห์ฐานข้อมูลของไทย ฐานข้อมูล Journal Link โดย น. ส. สุกัญญา ประทุม.
เข้าสู่เว็บการสืบค้น HIP : - เลือกเมนูการสืบค้น Keyword search ดังรูป.
ปรับปรุงล่าสุด 09/04/53 จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด.
ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
JSTOR ฐานข้อมูลวารสารฉบับย้อนหลัง ครอบ คลุมสหสาขาวิชา เช่น สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ บริหารธุรกิจ ฯลฯ ให้ ข้อมูลบรรณานุกรมและเอกสารฉบับเต็ม.
Annual Reviews โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร ปรับปรุงครั้งล่าสุด 28/04/51 แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บ. บุ๊ค โปรโมชั่น แอน เซอร์วิส จำกัด.
ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ยกเว้น ด้านมนุษยศาสตร์ ฐานข้อมูลนี้ให้บริการข้อมูลใน รูปแบบของบทคัดย่อ (Abstract) แต่หากรายการใด.
Management Plus เป็นที่รู้จักดีในด้านการผลิต สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องทางด้านวิชาการ เป็นฐานข้อมูลที่ ครอบคลุมและสมบูรณ์ที่สุดในสาขาการจัดการ ครอบคลุม สาขาวิชาการบัญชีและการเงิน.
Annual Reviews โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร ปรับปรุงครั้งล่าสุด 10/05/50 แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บ. บุ๊ค โปรโมชั่น แอน เซอร์วิส จำกัด.
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 22/03/54 ASTM Standards and Engineering Digital Library โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา.
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ติดต่อสอบถาม ,
การประยุกต์ใช้ QR Code เพื่อการบริการสารสนเทศ
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การ ติดตั้ง VPN และเทคนิคการสืบค้นข้อมูลจาก ฐานข้อมูลอ้างอิงออนไลน์ โดย นางสาวจุฑาทิพย์ นิยมรัตน์ 28 สิงหาคม 2558 การฝึกอบรมการใช้ฐานข้อมูล.
วิทยาเขตมีบริการอะไรให้บ้าง การบริการ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน สำหรับใช้งาน Internet สามารถ ติดต่อขอ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน (Password) ด้วย ตนเอง บัตรประจำตัวพนักงาน.
วรกร สุพร งานนโยบายและแผน และประกันคุณภาพการศึกษา คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การใช้งาน “ ระบบงานสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ ” 1. m/iwebflow m/2013/ การเข้าสู่โปรแกรมการใช้งาน 2.
การค้นหาข้อมูลวิทยานิพนธ์ และ งานวิจัย. ฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
โดย ภก.อรรถกร บุญแจ้ง เภสัชกรชำนาญการ โรงพยาบาลมหาชนะชัย.
ชุมชนปลอดภัย.
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย(ThaiLIS)
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม
การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Electronic Book System
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson
การนำงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ขึ้น Dspace และ Google Scholar
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด
รายวิชา Scientific Learning Skills
การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ
การใช้งานฐานข้อมูล ProQuest Dissertations & Thesis Global
NetLibrary จัดทำโดย งานบริการสารสนเทศ ฝ่ายบริการ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
ASTM Standards and Engineering Digital Library
รายวิชา การบริหารการศึกษา
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
หน่วยเทคโนโลยีสารสนเทศ งานนโยบายและแผนฯ
ProQuest Dissertations & Theses
นางสาวรตยา พนมวัน ณ อยุธยา นางสาววิไลลักษณ์ ดวงบุปผา
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
การใช้งานฐานข้อมูล ProQuest Dissertations & Thesis Global
แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
Browse 1 1. เลือกการไล่เรียงตามประเภทสิ่งพิมพ์ เช่น Journals ในช่อง Content type.
บทที่ 8 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการสร้างระบบการสอนบนเครือข่าย “Moodle” อาจารย์เทพยพงษ์ เศษคึมบง สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา pws.npru.ac.th/thepphayaphong.
Google Scholar คืออะไร
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
การใช้งานฐานข้อมูล ProQuest Dissertations & Thesis Global
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสืบค้นงานวิจัยออนไลน์ การค้นงานวิจัยประเภทวิทยานิพนธ์ 1. การค้นฐาน CUIR และ Proquest Dissertation โดย วรรณลักษณ์ (30 นาที) 2. การค้นฐาน Thai Digital collection ของ สกอ โดย ปรียาพร (15 นาที)

การสืบค้นงานวิจัยออนไลน์ การค้นงานวิจัยประเภทวารสาร 3. การค้นฐาน Thai Index Medicus โดย สุจิพร (15 นาที) 4. การค้นฐานบทความวารสารภาษาไทยของ TCI โดย ปรียาพร (15 นาที) 5. การค้นฐาน PubMed โดย จิราภรณ์ (30 นาที) 6. การค้นฐาน Scopus โดย ปรียาพร (15 นาที)

การสืบค้นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ฉบับเต็ม ProQuest Dissertation & Theses Global Chulalongkorn Univ. Intellectual Repository [CUIR]

ProQuest Dissertations & Theses Global

การเข้าใช้ http://library. md. chula. ac การเข้าใช้ http://library.md.chula.ac.th ภายใต้หัวข้อ Thesis & Research เลือก

วิธีการสืบค้น 1. การสืบค้นแบบ Basic search 2. สืบค้นแบบ Advance search

วิธีการสืบค้น สืบค้นแบบ Basic search ผลการค้นที่แสดงจะไปดึงข้อมูลจากชื่อเรื่อง / บทคัดย่อ ที่มีคำเหล่านี้ปรากฎ แต่หากต้องการให้ระบบแสดงผลคำค้นที่เรียงติดกัน ให้ใส่เครื่องหมาย “…” ครอบคำที่ต้องการค้น

วิธีการสืบค้น สืบค้นแบบ Advance search

การแสดงผลลัพธ์ (Result)

ดูรายการเอกสารอ้างอิงของงานวิจัยนี้

ตัวอย่างการค้นหาแบบ Advance search “health promotion” เป็นชื่อเรื่อง มีเอกสารฉบับเต็ม ตีพิมพ์ในช่วง 2 ปีนี้ ปริญญานิพนธ์ในระดับปริญญาโท เนื้อหาเป็นภาษาอังกฤษ

“health promotion” เป็นชื่อเรื่อง มีเอกสารฉบับเต็ม ตีพิมพ์ในช่วง 2 ปีนี้ เนื้อหาเป็นภาษาอังกฤษ ปริญญานิพนธ์ในระดับปริญญาโท

การสืบค้นข้อมูลคลังปัญญาจุฬาฯ เพื่อประเทศไทย Chulalongkorn University Intellectual Repository คลังปัญญาจุฬาฯ เพื่อประเทศไทย (CUIR) จัดทำโดยสำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาฯ ประกอบด้วย งานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความวิชาการ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ ชุดการเรียนการสอน การบรรยาย คู่มือแนวปฏิบัติที่ดี จดหมายเหตุวิทยบริการ ผลงานจองศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยจินดา โดยทั้งหมดเป็นผลงานของคณาจารย์ นักวิจัย นิสิต และหน่วยงานในจุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลัย เพื่อการสงวนรักษาและแปลงสภาพทรัพยากรสารสนเทศให้เป็นสื่อดิจิทัล พร้อมท้งัช่วยอา นวยความสะดวกในการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในการศึกษาค้นคว้าวิจัย และสร้างผลงานทางวิชาการ โดยใช้ผ่านโปรแกรมสำเร็จรูป DSpace เริ่มให้บริการครั้งแรก ปีพ.ศ. 2548 และเปิดให้บริการโดยไม่ต้องลงทะเบียน สามารถ Download ได้ฟรีในปี พ.ศ. 2561

การเข้าใช้ http://cuir.car.chula.ac.th/

วิธีการสืบค้น การสืบค้นผ่านช่องเมนู Search DSpace สามารถพิมพ์คำสืบค้นได้ทีละหลายคำค้น โดยใช้คำเชื่อมและเขตข้อมูลได้มากขึ้น

วิธีการสืบค้น (ต่อ) การใช้เมนู Browse เพื่อให้แสดงข้อมูลทั้งหมด โดยเรียงลำดับตามประเภทข้อมูล Communities and Collections หน่วยงาน / คณะ / สถาบัน Issue date ปีที่พิมพ์ Author ผู้แต่ง Title ชื่อเรื่อง Subject หัวเรื่อง Degree Disciplines สาขาวิชา

การแสดงผลลัพธ์ (Result) 1. Search 3. Discover 2. Item hints

หน้าจอการแสดงผลลัพธ์ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ (1) Search แสดงคำที่ใช้สืบค้นและแสดงช่องการสืบค้นเพิ่มเติมภายใต้เมนู Add filters เลือกคำเชื่อม เลือกเขตข้อมูล โดยเลือกจำนวนผลลัพธ์ต่อหน้าจอ (Result / Page) และให้จัดเรียงลำดับข้อมูล (Sort items) ได้ด้วย

(2) Item hints จะแสดงผลลัพธ์แบบย่อ ประกอบด้วย ปีที่พิมพ์ ชื่อเรื่อง และผู้แต่ง เมื่อคลิกชื่อเรื่องก็จะพบรายการข้อมูลเต็มรูปแบบ

(3) Discover จำแนกข้อมูลทั้งหมดของผลลัพธ์ที่ได้จากการสืบค้น ได้แก่ ผู้แต่ง หัวเรื่อง และปีที่พิมพ์

การ Save / Download ให้เลือกเมนู View/Open เพื่อดูไฟล์เอกสารฉบับเต็มและสามารถ Save / Download เพื่อบันทึกข้อมูล

Unlock pdf ข้อเเนะนำเพื่อปลดล็อควิทยานิพนธ์ฉบับเต็มให้สามารถพิมพ์ได้

Unlock pdf ข้อเเนะนำเพื่อปลดล็อควิทยานิพนธ์ฉบับเต็มให้สามารถพิมพ์ได้ วิธีการง่าย ๆ สำหรับการปลดล็อคไฟล์ มีขั้นตอน ดังนี้ เลือกเว็บไซต์ใด ๆ ที่มีบริการการปลดล็อคไฟล์ โดยบนหน้าเว็บไซต์แต่ละแห่งจะมีคำแนะนำ / ขั้นตอน ในการปลดล็อคไว้ค่อนข้างชัดเจน ทำตามคำแนะนำบนหน้าเว็บไซต์นั้น ๆ เช่น ให้อัพโหลดไฟล์วิทยานิพนธ์ที่ท่านดาวน์โหลดมาจาก CUIR แล้ว และต้องการปลดล็อคการพิมพ์เข้าสู่ระบบบนเว็บไซต์นั้น จากนั้นจะมีขั้นตอนให้คลิกเลือก convert หรือ Unlock ไฟล์นั้น ๆ เมื่อคลิกแล้วรอโปรแกรมทำงานสักครู่ เมื่อสิ้นสุดกระบวนการลบการเข้ารหัสจะมีขั้นตอนให้ท่านดาวน์โหลดไฟล์ดังกล่าวกลับมา เพื่อให้ท่านนำไฟล์ใหม่ที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นไฟล์ที่ได้รับการปลดล็อคเรียบร้อยแล้ว ไปสั่งพิมพ์ออกเครื่องพิมพ์ต่าง ๆได้ตามต้องการ

Thank you วรรณลักษณ์ อุ่นมา wannalak.u@chula.ac.th