การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัดตราด
โครงสร้างพื้นฐานทางการค้าและการลงทุน ตัวแบบการจัดทำข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ Generic Value Chain การค้า การส่งออกและการลงทุน 5 โครงสร้างพื้นฐานทางการค้าและการลงทุน การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ พัฒนาความพร้อมและ สร้างขีดความสามารถ ของผู้ประกอบการ การบริหาร จัดการสินค้า (Logistics) พัฒนาด้าน การตลาดและ ช่องทางการ จัดจำหน่าย พัฒนาฐานข้อมูลการผลิตและการบริโภค พัฒนาฐานข้อมูลตลาดและปริมาณการส่งออก (Trade & Market Intelligence) เงินลงทุนและการเข้าถึงแหล่งเงินทุน อัตราการแลกเปลี่ยนเงิน การทำประกันภัย กฎระเบียบข้อบังคับการส่งออก การพัฒนาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) การพัฒนาระบบการ สรรหาและสั่งซื้อสินค้าจากผู้ผลิต (Sourcing System) การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีจากข้อตกลงต่างๆ การพัฒนาขีดความสามารถของผู้ประกอบการ การเพิ่มศักยภาพในการดำเนินธุรกิจ การยกระดับความพร้อมด้านเทคโนโลยี (Technology Readiness) การส่งเสริม พัฒนาการรวมกลุ่มผู้ประกอบการค้า สร้างและขยายเครือข่ายการค้า การลงทุนทั้งในและต่างประเทศ การจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า การพัฒนาประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่งและกระจายสินค้า อัตราการสูญเสียระหว่างขนส่ง การลดต้นทุนในการบริหารจัดการและเก็บรักษาสินค้าคงคลัง การจัดการงานด้านศุลกากร (ส่งออก/นำเข้า) การพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่าย การจัดกิจกรรมส่งเสริม การขาย การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ
ตัวแบบการจัดทำข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ Value Chain การค้าชายแดน STEP 1
ตาราง สถิติการค้าชายแดน ปี 2552 - 2557 2553 2554 2555 2556 2557 ประเภท มูลค่าการค้า ชายแดน (ล้าน บาท) 16,778.2 3 19,762. 36 20,207.8 0 24,557.7 26,720.3 8 28,166.8 5 ปริมาณการส่ง สินค้า (ตัน) 150,367. 38 616,770 .3 530,768. 58 751,836. 99 723,996. 63 จำนวนแรงงานที่ ได้รับการพัฒนา (ราย) 1,865 1,445 1,882 3,113 3,396 2,548
กราฟ สถิติการค้าชายแดน ปี 2552 - 2557 กราฟ สถิติการค้าชายแดน ปี 2552 - 2557 ที่มา : ด่านศุลกากรจังหวัดตราด
โครงการที่นำเสนอ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด่านศุลกากรคลองใหญ่รองรับ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาด่านศุลกากรคลองใหญ่ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมาก ขึ้น เป้าหมาย 1. ด่านศุลกากรคลองใหญ่มีประสิทธิภาพในการนำเข้า-ส่งออก กิจกรรม หรือ แนวทางโครงการ 1. พัฒนาด่านศุลกากรคลองใหญ่ให้เป็นระบบ C.I.Q 2. ขยายถนนบริเวณหน้าด่านพรมแดนบ้านหาดเล็กให้มี สามารถแยกการขนส่งระหว่างการขนส่งสินค้า (รถ) และการ สัญจรข้ามแดน (คน)
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตราด ได้แก่ อำเภอคลองใหญ่ ประกอบด้วยพื้นที่ 3 ตำบล ดังนี้ 1. ตำบลคลองใหญ่ อำเภอคลองใหญ่ 2. ตำบลไม้รูด อำเภอคลองใหญ่ 3. ตำบลหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ โอกาสและศักยภาพ ขยายการค้าไทย – กัมพูชา – เวียดนาม และ ภูมิภาคอินโดจีน ใกล้ท่าเรือสีหนุวิลล์ และท่าเรือแหลมฉบัง และ สามารถเชื่อมโยงไปยังสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (ตอนใต้) ขยายการท่องเที่ยวในพื้นที่และการท่องเที่ยวเชื่อมโยง
จากศักยภาพและโอกาส ดังกล่าว จังหวัดตราด จึง ได้กำหนดบทบาทและจุดยืนในการพัฒนา (Positioning) ในการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตราด ดังนี้ พัฒนาเป็นศูนย์กลางการค้าส่ง และขนส่งต่อเนื่อง ระหว่างประเทศและการเป็นศูนย์กลางให้บริการการ ท่องเที่ยวในระดับภูมิภาค โดยมีแนวทางในการพัฒนา 3 ประการ ได้แก่ 1. การเป็นศูนย์สนับสนุนและให้บริการการนำเข้า- ส่งออก (Support service in Import/Export) 2. การเป็นศูนย์รวมในการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ทั้งระบบการขนส่งทางบก ทาง น้ำและ ทางอากาศ (Logistic Center) 3. การเป็นศูนย์กลางให้บริการการท่องเที่ยวใน ระดับภูมิภาค (Tourism Hub)
การเตรียมความพร้อมในการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตราด ในระยะต่อไป การวางผังเมือง การเตรียมพื้นที่ การบริหารจัดการท่าเทียบเรืออเนกประสงค์คลองใหญ่ การปรับปรุงภูมิทัศน์เส้นทางไปอำเภอคลองใหญ่ การจัดตั้งศูนย์บริการเบ็ดเสร็จด้านการค้า การลงทุน การพิจารณานำเข้า-ส่งออก สินค้าการเกษตร การเตรียมความพร้อมในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ต่างๆ การเปิดเส้นทางการคมนาคมขนส่งทางน้ำเชื่อมโยงไทย- กัมพูชา-เวียดนาม ฯลฯ