ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
Advertisements

Computer Programming for Engineers
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันโภชนาการ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันชีววิทยา ศาสตร์โมเลกุล ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเทคนิค การแพทย์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล หอสมุดและคลังความรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล บัณฑิต วิทยาลัย ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาล ศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันชีววิทยา ศาสตร์โมเลกุล ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การควบคุมงานก่อสร้าง ( การทดสอบวัสดุ ). หัวข้อการบรรยาย 1. การเจาะสำรวจชั้นดิน 2. การทดสอบแรงดึงของเหล็ก 3. การทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต หมายเหตุ : การบรรยายจะอ้างอิงแบบ.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ e- meeting วันศุกร์ที่ 20 เมษายน 2555.
จรรยาบรรณ ( Code of Ethic) กลุ่มบริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด R.X.Group ประกาศต่อผู้บริหารระดับสูง - ต้น 270 คน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2548 ณ S.D. Avenue Hotel.
การประเมินภาวะโภชนาการ และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom action Research
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
ที่มาของระบบคุณภาพ ISO 9000
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันโภชนาการ
แนวทางการคัดกรองภาวะซีดในเด็ก และการให้ยาเสริมธาตุเหล็ก ในคลินิกเด็กดี
หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย
แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การสำรวจและอธิบายข้อมูล
การกระจายอายุของบุคลากร
การจัดการผู้ป่วยรายกรณีเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง คลินิกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ นางกรรณิการ์
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ข้อสังเกตในการจัดทำผลงานทางวิชาการ
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
คะแนนและความหมายของคะแนน
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน
Miss. Teeranuch Sararat Teerapada Technological College
ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. พิเศษ 1/5 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
การกระจายอายุของบุคลากร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Don Bosco Banpong Technological College
Don Bosco Banpong Technological College
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
อาจารย์ ศิริรัตน์ หวังดี
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
การตัดเกรด อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
กระบวนการเรียนการสอน
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
การศึกษาความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
สถานการณ์ วิกฤติ 7 ระดับ
เทคนิคการทำวิจัยสถาบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับความผูกพัน ของบุคลากร สถาบันในเครือตั้งตรงจิตร ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน

1. ที่มาและความสำคัญของปัญหา การบริหารสถานศึกษา จะประสบความสำเร็จหรือล้มเหลวย่อมขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรเป็นสำคัญ สถานศึกษาสมัยใหม่จึงมองว่า บุคลากรเป็นทรัพยากรที่ต้องรักษา และหวงแหน ทำนุบำรุง ให้มีความสุขในการทำงาน 1

สถาบันในเครือตั้งตรงจิตร บุคลากรทำงานตั้งแต่เริ่มแรกเกษียณอายุ เป็นเวลา 40 ปี และโดยส่วนใหญ่จะอยู่กินเกินกว่า 10 ปี แต่อย่างไรก็ตามบุคลากรบางส่วนจำนวนหนึ่งก็อยู่กับสถาบันเพียงสั้น ๆ เมื่อพบโอกาสที่ดีกว่าจะลาออกไปหรือจะทิ้งงานในหน้าที่กลางคันส่งผลกระทบต่อการบริหารงานบุคลากรในสถาบันในเครือ ขาดแคลนครู 2

การลาออกไปสมัครเป็นครูรัฐบาลเพื่อสอบบรรจุได้ในช่วงที่มีการเรียนการสอน การขาดงานและการปฏิบัติงานของบุคลากร เมื่อพิจารณาแล้วสาเหตุปัญหาพบว่า เรื่องเงินเดือน ค่าตอบแทน ภาระหน้าที่ สวัสดิการ เป็นปัจจัยที่ส่งผลให้บุคลกรจำนวนหนึ่งลาออกไปจากโรงเรียน 3

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของบุคลากร สถาบันในเครือตั้งตรงจิตร 2. เพื่อเปรียบเทียบแรงจูงใจและความผูกพันต่อสถานศึกษา ของบุคลากร 3. เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับความผูกพันต่อองค์กรองบุคลากรสถาบันในเครือตั้งตรงจิตร 4

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม 1. ปัจจัยแรงจูงใจ - ความก้าวหน้าส่วนตัว - ลักษณะงาน - ความสำเร็จ - การได้รับการยอมรับนับถือ - การรับผิดชอบ 2. ปัจจัยค้ำจุน - ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน - เงินเดือน - สภาพการทำงาน - มั่นคงในการทำงาน ปัจจัยผูกพันต่อองค์กร บุคลากร สถาบันในเครือตั้งตรงจิตร - ความเชื่อมั่นขององค์กร เต็มใจทุ่มเทเต็มทำงาน - ปรารถนาที่จะดำรงไว้ซึ่งความเป็นสมาชิกองค์กร 9

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจ กับความผูกพันของบุคลากรสถาบันในเครือตั้งตรงจิตร 2. ผลการศึกษาเพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนและกำหนด นโยบายให้กับผู้บริหาร ด้านการบริหารบุคลากร ของสถาบันในเครือตั้งตรงจิตร 10

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ระเบียบวิธีวิจัย ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ บุคลากรสถาบันในเครือตั้งตรงจิตร จำนวน 328 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 178 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง จากตารางสำเร็จรูปของเครจซี่ และมอร์แกน 11

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับ ความผูกพันของบุคลากร สถาบันในเครือตั้งตรงจิตร แรงจูงใจ SD แปลค่า อันดับ 1.ปัจจัยจูงใจ 3.70 .51 มาก 2 2.ปัจจัยค้ำจุน 3.80 .63 1 รวม 3.75 .57 17

ตอนที่ 2. ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์กรในภาพรวม SD แปลค่า อันดับ 1. การยอมรับเป้าหมายและค่านิยม ความเชื่อมั่นใน องค์กร 3.99 .54 มาก 3 2. การเต็มใจที่จะทุ่มเทความพยายามในการทำงานเพื่อผลประโยชน์ขององค์กร 4.09 .61 1 3. ความปรารถนาที่จะดำรงไว้ซึ่งความเป็นสมาชิกของ องค์กร 4.06 .53 2 รวม 4.04 .55 18

ตัวแปร ความผูกพันต่อองค์กร ตอนที่ 3 การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับความผูกพันต่อองค์กร ตัวแปร ความผูกพันต่อองค์กร แรงจูงใจ N r P 1.ปัจจัยจูงใจ 178 .56 .00* 2.ปัจจัยค้ำจุน .45 ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน 75 คนและครู 748 คน ในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี 19

สรุปผลการวิจัย ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 31-35 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีระยะเวลาการปฏิบัติงาน 6-15 ปี และปฏิบัติ การสอน ระดับความคิดเห็นต่อแรงจูงใจในการทำงานภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านปัจจัยค้ำจุน มีค่าเฉลี่ยมาก รองลงมาคือปัจจัยแรงจูงใจ 20

สรุปผลการวิจัย ระดับความผูกพันต่อองค์กร ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านความเต็มใจที่จะทุ่มเทความพยายามอย่าง เต็มที่ในการทำงาน มีค่าเฉลี่ยมาก รองลงมาคือ ด้านยอมรับเป้าหมาย และด้านปรารถนาที่จะดำรงไว้ซึ่งความเป็นสมาชิกขององค์กต่อไป ผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่า แรงจูงใจในทุกด้านมีความสัมพันธ์ เชิงบวกกับความผูกพันต่อองค์กร โดยรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05

ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับความผูกพันต่อองค์กรของสถาบันในเครือตั้งตรงจิตร แสดงให้เห็นว่าการให้ความสำคัญปัจจัยแรงจูงใจ ปัจจัยค้ำจุน ความผูกพันต่อองค์กร นั้นเป็นสิ่งสำคัญ เพราะหากบุคลากร มีระดับดีจะส่งผลให้เกิดความพอใจและปฏิบัติงานได้อย่างเต็มความสมารถเกิดความผูกพันต่อองค์กร ดังนี้ ด้านผลตอบแทน ที่ได้รับอาจไม่ใช่เพียงตัวเงินเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่อาจเป็นด้านอื่น ๆ เช่นมีจำนวนชั่วโมงสอนที่เหมาะสม จะทำให้มีเวลาไปฏิบัติหน้าที่ในส่วนอื่น ๆ เช่น การทำวิจัยและงานต่าง ๆ ที่ได้รับมอบหมาย เป็นต้น ด้านความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน ในการต่อสัญญาควรมีการต่อสัญญาว่าจ้างให้นานขึ้นเช่น 5 ปี และควรมีการบรรจุให้เร็วขึ้น จะทำให้เกิดขวัญและกำลัฃใจของบุคลากร

ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กร เช่น ภาวะผู้นำของบริหารองค์กร วัฒนธรรมองค์กร การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร เป็นต้น 2. ควรศึกษารูปแบบการบริหารบุคคลของสถาบันในเครือตั้งตรงจิตร ด

1. ควรศึกษารูปแบบการบริหารบุคคลของสถาบันในเครือตั้งตรงจิตร 2. คารศึกษา ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูผู้สอนที่มีต่อสถาบันในเครือตั้งตรงจิตร เพื่อนำผลการวิจัยที่ได้รับมาใช้เป็นแนวทางในการสร้างขวัญและกำลังใจที่ตรงตามความต้องการของครูผู้สอนที่มีต่อสถาบันในเครือตั้งตรงจิตร