บทที่ 2 การเริ่มต้นกิจการใหม่และการซื้อกิจการ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การเริ่มต้นกิจการใหม่ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ข้อได้เปรียบ หลีกเลี่ยงพันธะ แนวความคิดเกี่ยวกับตลาดใหม่ แนวความคิดจากเทคโนโลยีใหม่ แนวความคิดเกี่ยวกับผลประโยชน์ใหม่ ชนิดของความคิดในการเริ่มต้นกิจการใหม่
แหล่งของแนวความคิดในการเริ่มต้นประกอบธุรกิจ ประสบการณ์ งานอดิเรก โอกาสจากความบังเอิญ ตั้งใจคิดค้น สิ่งพิมพ์ต่างๆ สินค้านำเข้า งานแสดงสินค้า
การประเมินโอกาสในการลงทุน มีการกำหนดตลาดที่ชัดเจน มีความได้เปรียบเชิงแข่งขัน ผลกำไรและศักยภาพของความเจริญเติบโต มีความเหมาะสมกับผู้ประกอบการ ไม่เสี่ยงต่อการมีข้อบกพร่องที่เป็นอันตราย
การซื้อกิจการ ข้อดีของการซื้อกิจการ โอกาสของการประสบผลสำเร็จ การมีทำเลที่ดีที่สุดของกิจการ มีพนักงานและผู้จัดหาพร้อม ความพร้อมทางด้านการผลิต การมีสินค้าคงคลังและเจ้าหนี้การค้าพร้อม สามารถเริ่มต้นประกอบการได้เลย ได้รับประโยชน์จากประสบการณ์ของเจ้าของเดิม ง่ายต่อการจัดหาเงินทุน การต่อรองราคา
การซื้อกิจการ ข้อเสียเปรียบของการซื้อกิจการ โอกาสที่จะสูญเสียเงินทุน ภาพพจน์ไม่ดี พนักงานเดิมไม่เหมาะสม ทำเลที่ตั้งไม่เหมาะสม เครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือไม่มีประสิทธิภาพหรือล้าสมัย ยากต่อการเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงาน สินค้าคงคลังหมดอายุหรือล้าสมัย บัญชีลูกหนี้บางรายมีมูลค่าน้อยกว่าราคาตามบัญชี มูลค่ากิจการสูงเกินไป
การสืบหาธุรกิจที่จะซื้อ ขั้นตอนในการซื้อธุรกิจ การวิเคราะห์ทักษะ ความสามารถและความสนใจ การจัดเตรียมรายชื่อกิจการที่จะซื้อ ประเมินผู้ขายแต่ละราย จัดเตรียมขั้นตอนการโอนกิจการ
การประเมินค่าธุรกิจ สาเหตุของการขายกิจการ สภาพของธุรกิจ อายุมากสุขภาพไม่ดี ย้ายไปที่อื่น ต้องการเปลี่ยนอาชีพ ผลกำไรกิจการไม่ดี ไม่ได้รับสิทธิสัมปทานอย่างต่อเนื่องเพียงผู้เดียว ถึงจุดอิ่มตัว สภาพของธุรกิจ ลูกหนี้การค้า สัญญาเช่า การจดบันทึกข้อมูลกิจการ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ทำเลที่ตั้ง
การประเมินค่าธุรกิจ ผลิตภัณฑ์และบริการ ภาระและข้อผูกพันต่างๆ ลักษณะลูกค้า วิเคราะห์คู่แข่งขัน ภาระและข้อผูกพันต่างๆ ข้อผูกมัด เจ้าหนี้ สัญญา ฐานะของกิจการ
วิธีประเมินมูลค่ากิจการ วิธีใช้งบดุลเป็นหลัก เทคนิคจากงบดุล เทคนิคการปรับปรุงจากงบดุล ประเมินกิจการโดยดูจากกำไร กำไรส่วนเกิน วิธีประมาณกำไร วิธีคิดส่วนลดของกำไรในอนาคต การประเมินมูลค่ากิจการโดยวิธีตลาด
บริษัท ทิพย์แก้ว จำกัด งบดุล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 25xx หน่วย :พันบาท สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ เงินสดและเงินฝากธนาคาร 200 ลูกหนี้การค้าสุทธิ 2,600 สินค้าคงคลัง 800 วัสดุคงเหลือ 110 เบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า 5 3,715 สินทรัพย์ถาวร ที่ดิน 8,000 อาคาร 7,800 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 546 7,254 เครื่องจักรและอุปกรณ์ 9,085 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 145 8,940 สินทรัพย์อื่นๆ 31 17,317 รวมสินทรัพย์ 21,032
รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 21,032 หนี้สินหมุนเวียน หนี้สิน เงินเบิกเกินบัญชี 819 ตั๋วเงินจ่าย 457 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 29 1, 305 หนี้สินระยะยาว เงินกู้ระยะยาว 1,556 หนี้สินอื่นๆ 71 1,627 รวมหนี้สิน 2,932 ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น 1,8100 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 21,032
บริษัท ทิพย์แก้ว จำกัด งบดุล(หลังปรับปรุง) ณ วันที่ 30 มิถุนายน 25xx หน่วย :พันบาท สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ เงินสดและเงินฝากธนาคาร 200 ลูกหนี้การค้าสุทธิ 1,900 สินค้าคงคลัง 500 วัสดุคงเหลือ 90 เบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า 5 2,695 สินทรัพย์ถาวร ที่ดิน 9,010 อาคาร 8,100 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 546 7,554 เครื่องจักรและอุปกรณ์ 8,586 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 145 8,441 สินทรัพย์อื่นๆ 29 25,034 รวมสินทรัพย์ 27,729
รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 27,729 หนี้สินหมุนเวียน หนี้สิน เงินเบิกเกินบัญชี 819 ตั๋วเงินจ่าย 457 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 29 1, 305 หนี้สินระยะยาว เงินกู้ระยะยาว 1,556 หนี้สินอื่นๆ 71 1,627 รวมหนี้สิน 2,932 ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น 2,4797 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 27,729
การเจรจาต่อรอง เงื่อนไขของผู้ขาย เงื่อนไขของผู้ซื้อ ขายในราคาสูงที่สุด ไม่รับผิดชอบในหนี้สินของกิจการ หลีกเลี่ยงเงื่อนไขที่จำกัดโอกาสที่จะมีในอนาคต รับเงินสดให้ได้มากที่สุด แน่ใจว่าผู้ซื้อสามารถจ่ายได้หมด เงื่อนไขของผู้ซื้อ ซื้อในราคาต่ำที่สุด ต้องการจ่ายชำระเป็นงวดและจ่ายช้าที่สุด แน่ใจในกิจการที่ซื้อ หลีกเลี่ยงไม่ให้ผู้ขายทำกิจการแข่งขันไปในอนาคต จ่ายเงินให้น้อยที่สุด
จบบทที่ 2 แล้วจ้า ขอขอบคุณที่สนใจฟัง...