พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
Advertisements

ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
จรรยาบรรณ ทางวิชาชีพและ เชิงสังคม อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อ การพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม. มหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อ.
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจการแบ่งประเภท และการระบุโทษของการ กระทำความผิดแต่ละประเภท 2.
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการติดตาม ดูแลพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนตามกระบวนการยุติธรรม เชิงสมานฉันท์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้วิจัย กนกวรรณ ตั้งจิตบำรุง หลักสูตร.
สาเหตุการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนหญิง ในลักษณะความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ศึกษาเฉพาะกรณีศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบ้านปราณี ผู้วิจัย สุวาทินี
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ยาเสพติด และชีวิตร่างกาย (คดีร้ายแรง) ของเด็กและเยาวชน ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล การศึกษาโดยใช้ทฤษฎีการควบคุมตนเอง.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การคุ้มครองพยานในคดีอาญา ตาม พรบ.คุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551
โดยอาจารย์ฐิติพร วัฒนชัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่
พงษ์เดช วานิชกิตติกูล
การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice)
พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กระบวนงานการให้บริการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
โดย อ.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
กระบวนการดำเนินการทางวินัย
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
สาเหตุที่ต้องมีพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
อภิรัฐธรรมนูญไทย.
อำนาจสืบสวน สอบสวน (มาตรา 17-21)
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560
หุ้นส่วนและบริษัท การเป็นหุ้นส่วน คือ การทำสัญญาระหว่างบุคคลตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อทำกิจการร่วมกัน โดยประสงค์จะแบ่งปันผลกำไรที่จะพึงได้จากกิจการนั้น.
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
(Code of Ethics of Teaching Profession)
บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons)
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ โดย นายกันตพงศ์ รังษีสว่าง หัวหน้าฝ่ายนิติการ สำนักงานกิจการสตรีฯ

ความชั่วร้ายของความรุนแรง (Vice and Evils of Violence) ทำมิตรให้เป็นศัตรู ทำให้หมู่ญาติขาดจากกัน ทำลายความรัก ทำลายความสัมพันธ์ ทำลายความสมานฉันท์

เหตุปัจจัยของความรุนแรง (Causes of Violence) ฝนตกขี้หมูไหล คนหลงตัวว่ายิ่งใหญ่มาพบกัน จึงเกิดเรื่อง เพราะถือตัวเป็นศูนย์กลาง ใครขวางจึงขัดเคือง เพราะเรื่องตัณหามันหนาหนัก มักมากรักหลากหลาย เพราะไม่รู้ฤทธิ์ร้ายความรุนแรง จึงหลงผิดคิดว่าข้าแกร่งแข็งขัน ทำเด็ดเดี่ยว ดีเดือด ดุดัน เด็ดขาดฟาดฟันให้บรรลัย

วัฒนธรรมสันติสุข (Peace Culture) ต้องมีเครือข่ายพันธมิตร ผู้นำทางศาสนา ผู้นำทางปัญญา สื่อสาธารณะ ผู้นำทางการเมือง พ่อแม่ ผู้บังคับบัญชา

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒๕๕๐ มาตรา ๕๒ วรรคสอง “เด็ก เยาวชน สตรี และบุคคลในครอบครัว มีสิทธิได้รับความคุ้มครองจากรัฐให้ปราศจากการใช้ความรุนแรงและการปฏิบัติอันไม่เป็นธรรม ทั้งมีสิทธิได้รับการบำบัดฟื้นฟูในกรณีที่มีเหตุดังกล่าว” วรรคสาม “การแทรกแซงและจำกัดสิทธิเด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัวจะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะเพื่อสงวนและรักษาไว้ซึ่งสถานะของครอบครัวหรือประโยชน์สูงสุดของบุคคลนั้น”

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒๕๕๐ มาตรา ๘๐(๑) คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัย ส่งเสริมความเสมอภาคหญิงและชาย เสริมสร้างและพัฒนาความเป็นปึกแผ่นของสถาบันครอบครัวและชุมชน รวมทั้งต้องสงเคราะห์และจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและพึ่งพาตนเองได้

แนวคิดทางกฎหมายอาญา แนวคิดของ “ซีซา แบคเคอเรีย” แห่งสำนัก CLASSICAL SCHOOL เน้นการลงโทษเพื่อแก้แค้นทดแทน แนวคิดของ “ซีซา ลอมโบร์โซ” แห่งสำนัก POSITIVE SCHOOL เน้นการแก้ไขฟื้นฟู

ทำไมต้องมีกฎหมายนี้ มาตรการทางอาญาตามประมวลกฎหมายอาญาไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้บังคับกับการกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว เพราะว่า ๑. ปัญหาการใช้ความรุนแรงในครอบครัวมีความละเอียดอ่อนซับซ้อนเกี่ยวพันกับบุคคลใกล้ชิด ๒. ปัญหาการใช้ความรุนแรงในครอบครัวมีลักษณะพิเศษแตกต่างจากการทำร้ายร่างกายทั่วไป ๓. กฎหมายอาญามีเจตนารมณ์ลงโทษมากกว่าแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิด หรือปกป้องคุ้มครองผู้ถูกกระทำ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑. สามารถกำหนดรูปแบบ วิธีการ และขั้นตอนที่มีลักษณะแตกต่างจากการดำเนินคดีอาญาทั่วไป ๒. ทำให้ผู้กระทำผิดมีโอกาสกลับตัวและยับยั้งการกระทำผิดซ้ำ ๓. รักษาความสัมพันธ์อันดีในครอบครัวไว้ได้ ๔. เด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัว มีสิทธิได้รับความคุ้มครองโดยรัฐจากการใช้ความรุนแรงในครอบครัว

“ความรุนแรงในครอบครัว” - การกระทำใดๆ โดยมุ่งประสงค์ให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย อันตรายแก่จิตใจ อันตรายแก่สุขภาพ - การกระทำโดยเจตนาในลักษณะที่น่าจะก่อให้เกิด อันตรายแก่ร่างกาย อันตรายแก่จิตใจ อันตรายแก่สุขภาพ (ของบุคคลในครอบครัว) - การกระทำโดยบังคับ หรือใช้อำนาจครอบงำผิดคลองธรรมให้บุคคลในครอบครัวต้อง กระทำการ ไม่กระทำการ ยอมรับการกระทำอย่างหนึ่งอย่างใดโดยมิชอบ - ไม่รวมถึงการกระทำโดยประมาท

“บุคคลในครอบครัว” - คู่สมรส - คู่สมรสเดิม - ผู้ที่อยู่กินฉันสามีภริยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรส - ผู้ที่เคยอยู่กินฉันสามีภริยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรส - บุตร - บุตรบุญธรรม - สมาชิกในครอบครัว - บุคคลใดๆ ที่ต้องพึ่งพาอาศัยและอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน

โทษสำหรับผู้กระทำความรุนแรงในครอบครัว โทษตามกฎหมายนี้ - ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือ - ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน ๖,๐๐๐ บาท หรือ - ต้องระวางโทษทั้งจำทั้งปรับ โทษตามกฎหมายอื่น - โทษตามประมวลกฎหมายอาญา - โทษตามกฎหมายอื่นที่มีโทษทางอาญา - โทษตามประมวลกฎหมายแพ่ง

หน้าที่ของบุคคล - หน้าที่ของผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว - หน้าที่ผู้พบเห็นการกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว หรือ - หน้าที่ผู้ทราบการกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว คือ แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ และถ้าได้แจ้งโดยสุจริตได้รับความคุ้มครองไม่ต้องรับผิดทั้งทางแพ่ง ทางอาญา และทางปกครอง การแจ้งกระทำได้โดยวาจา เป็นหนังสือ ทางโทรศัพท์ ทางอิเล็กทรอนิกส์

การดำเนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่ กระบวนการทางปกครอง การดำเนินการของพนักงานเจ้าหน้าที่

อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ ๑. เข้าไปในเคหะสถาน หรือสถานที่ที่เกิดเหตุ เพื่อ - สอบถามผู้กระทำ - สอบถามผู้ถูกกระทำ - สอบถามบุคคลอื่นที่อยู่ในสถานที่นั้น ๒. จัดให้ผู้ถูกกระทำเข้ารับการตรวจรักษาจากแพทย์ และขอรับคำปรึกษาแนะนำจากจิตแพทย์ นักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะห์ ๓. จัดให้ผู้ถูกกระทำ ร้องทุกข์เพื่อดำเนินคดีตามความประสงค์ของผู้ถูกกระทำ ๔. ร้องทุกข์แทนผู้ถูกกระทำ ถ้าผู้ถูกกระทำไม่อาจดำเนินการเองได้

อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ ๕. ออกคำสั่งกำหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกข์แก่ผู้ถูกกระทำเป็นการชั่วคราว ๖. ออกคำสั่งใดๆ เท่าที่จำเป็นและสมควร รวมถึง - การให้ผู้กระทำเข้ารับการตรวจรักษาจากแพทย์ - การให้ผู้กระทำชดใช้เงินช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ - การห้ามผู้กระทำเข้าไปในที่พำนักของครอบครัวหรือเข้าใกล้ตัวบุคคลใดในครอบครัว - การกำหนดวิธีการดูแลบุตร ๗. เสนอมาตรการดังกล่าวต่อศาล ภายใน ๔๘ ชั่วโมง นับแต่วันออกคำสั่ง ถ้าศาลเห็นชอบ มาตรการนั้นมีผลต่อไป หากไม่เห็นชอบด้วยให้ศาลไต่สวนและมีคำสั่ง

(ต่อ) - ผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับคำสั่ง (ไม่ว่าจะเป็นของพนักงานเจ้าหน้าที่หรือของศาล) สามารถยื่นอุทธรณ์ขอให้ศาลทบทวนคำสั่งได้ ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันทราบคำสั่ง - ผู้ที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่หรือของศาล(ในเรื่องนี้) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๓ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ

โทษสำหรับผู้พิมพ์โฆษณา หรือเผยแพร่ จำคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือ ปรับไม่เกิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ

กระบวนการทางอาญา การร้องทุกข์เพื่อดำเนินคดีของผู้เสียหายหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ การสอบสวนของพนักงานสอบสวน การฟ้องคดีของพนักงานอัยการ การพิจารณาพิพากษาคดีของศาล

การร้องทุกข์(แจ้งความ) - ต้องแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือร้องทุกข์ ภายใน ๓ เดือน นับแต่ผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัวอยู่ในวิสัยและมีโอกาสที่จะแจ้งหรือร้องทุกข์ได้ มิฉะนั้น “ขาดอายุความ” - ความผิดฐานกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัวเป็นความผิดอันยอมความได้ (ไม่ลบล้างความผิดตามกฎหมายอื่น) - ไม่ตัดสิทธิผู้ถูกกระทำหรือผู้มีส่วนได้เสียจะร้องขอคุ้มครองสวัสดิภาพตาม พรบ.จัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวฯ

การสอบสวนของตำรวจ - พนักงานสอบสวน ทำการสอบสวนโดยเร็ว - การสอบปากคำต้องจัดให้มีจิตแพทย์ นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ หรือบุคคลที่ผู้ถูกกระทำร้องขอร่วมอยู่ในขณะสอบปากคำ - กรณีจำเป็นเร่งด่วน ไม่อาจรอบุคคลดังกล่าวได้ ให้สอบปากคำไปก่อนโดยไม่ต้องมีบุคคลที่ว่าร่วมอยู่ด้วย แต่ต้องบันทึกเหตุที่ไม่อาจรอไว้ในสำนวนการสอบสวน - ต้องกระทำตามระเบียบว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการของพนักงานสอบสวน

การฟ้องคดีของอัยการ - พนักงานสอบสวนส่งตัวผู้กระทำพร้อมความเห็นไปยังพนักงานอัยการเพื่อฟ้องคดีต่อศาล ภายใน ๔๘ ชั่วโมง นับแต่ได้ตัวผู้กระทำความรุนแรงในครอบครัว - หากจำเป็น ขอผัดฟ้องต่อศาลได้ไม่เกิน ๓ คราว คราวละไม่เกิน ๖ วัน - ถ้าเป็นความผิดกรรมเดียวกับความผิดตามกฎหมายอื่น ให้ดำเนินคดีนี้ต่อศาลรวมกับความผิดตามกฎหมายอื่น - ถ้าความผิดตามกฎหมายอื่นมีอัตราโทษสูงกว่า ให้ดำเนินคดีต่อศาลที่มีอำนาจพิจารณาความผิดตามกฎหมายนั้น

การพิจารณาพิพากษาของศาล ๑. ศาลเยาวชนและครอบครัวเป็นศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีตามพระราชบัญญัตินี้ ๒. ออกคำสั่งกำหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกข์ ในระหว่างการสอบสวนหรือการพิจารณาคดี ๓. ออกคำสั่งใดๆ ตามที่เห็นสมควร ๔. แก้ไข เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลง หรือเพิกถอนคำสั่งกำหนดมาตรการหรือวิธีการ หรือกำหนดเงื่อนไขเพิ่มเติม ๕. ในกรณีที่พิพากษาว่าผู้กระทำมีความผิด อาจกำหนดใช้วิธีการฟื้นฟู บำบัดรักษา คุมความประพฤติ ให้ชดใช้เงินช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ ทำงานบริการสาธารณะ ละเว้นการกระทำอันเป็นเหตุให้เกิดการใช้ความรุนแรง หรือทำทัณฑ์บนผู้กระทำก็ได้

การพิจารณาพิพากษาของศาล ๕. จัดให้มีการทำบันทึกข้อตกลงเบื้องต้นก่อนการยอมความ หรือถอนฟ้อง ๖. พยายามเปรียบเทียบให้ได้ยอมความกัน โดยมุ่งถึงความสงบสุขและการอยู่ร่วมกันในครอบครัวเป็นสำคัญ โดยให้คำนึงถึงหลัก - การคุ้มครองสิทธิผู้ถูกกระทำ - การสงวนและคุ้มครองสถานภาพของการสมรส หากจำเป็นต้องหย่า ก็ให้เป็นไปด้วยความเป็นธรรมและเสียหายน้อยที่สุด - การคุ้มครองและช่วยเหลือครอบครัว - มาตรการช่วยเหลือสามีภริยาและบุคคลในครอบครัวให้ปรองดองและปรับปรุงสัมพันธภาพ

วิธีการแทนการลงโทษของศาล วิธีการฟื้นฟูและบำบัดรักษา - อบรม ว่ากล่าวตักเตือน หรือให้เข้าร่วมฝึกอบรมทางศีลธรรม หรือทางวินัยไม่เกิน ๗ วัน - บำบัดรักษาอาการติดยาเสพติด ไม่เกิน ๖ เดือน - บำบัดรักษาอาการบกพร่องทางร่างกายและจิตใจ หรือให้ผู้เต็มใจรับดูแลรักษา ไม่เกิน ๑ ปี - บำบัดรักษาอาการติดสุรา หรือของมึนเมา ไม่เกิน ๖ เดือน

วิธีการแทนการลงโทษของศาล วิธีการคุมความประพฤติ - ให้ไปรายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤติ หรือพนักงานสังคมสงเคราะห์ - ห้ามเข้าสถานที่จูงใจให้ประพฤติชั่ว หรือกระทำการใดอันเป็นเหตุให้ประพฤติชั่ว - ให้ฝึกหัด หรือประกอบอาชีพ - ให้ละเว้นคบหาสมาคม หรือประพฤติใดอันอาจนำสู่การกระทำผิดอีก - ห้ามเล่นการพนัน ดื่มสุรา เสพสิ่งเสพติด

วิธีการแทนการลงโทษของศาล วิธีการชดใช้เงินช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ - สำหรับรายได้ที่สูญเสีย ให้ชดใช้ในวงเงินที่สูญเสีย ไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาท - ค่ารักษาพยาบาล ให้ชดใช้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาท - ค่าใช้จ่ายหาที่อยู่ใหม่ ให้ชดใช้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินเดือนละ ๔,๐๐๐ บาท ไม่เกิน ๑ ปี - ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็น ให้ชดใช้ตามที่จำเป็น ไม่เกิน ๕๐,๐๐๐ บาท

วิธีการแทนการลงโทษของศาล การให้ทำงานบริการสาธารณะ - ศาลกำหนดประเภท สถานที่ ระยะเวลา ไม่เกินวันละ ๓ ชั่วโมง และไม่เกิน ๗ วัน การให้ละเว้นการกระทำอันเป็นเหตุให้เกิดการใช้ความรุนแรง การทำทัณฑ์บน โดยกำหนดจำนวนเงินไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท มีประกันด้วยหรือไม่ก็ได้ - ถ้าผิดทัณฑ์บน จะสั่งให้ชำระเงิน ไม่ชำระเงินจะสั่งกักขังแทนค่าปรับตาม ปอ. เว้นเป็นเด็กหรือเยาวชน การยอมความ ถอนคำร้องทุกข์ หรือถอนฟ้อง ศาลจะจัดให้มีการทำบันทึกข้อตกลงก่อน

กรณีตั้งผู้ประนีประนอมยอมความ ๑. ผู้ที่มีอำนาจตั้งผู้ประนีประนอมยอมความ - พนักงานเจ้าหน้าที่ - ศาล ๒. ผู้ประนีประนอมยอมความ ประกอบด้วยบุคคลหรือคณะบุคคล เช่น - บิดา, มารดา, ผู้ปกครอง, ญาติของคู่ความ, บุคคลที่เห็นสมควร - หรืออาจมอบหมายให้นักสังคมสงเคราะห์ หน่วยงานสังคมสงเคราะห์ หรือบุคคลใดช่วยไกล่เกลี่ย

(ต่อ) ๓. ผู้ประนีประนอมยอมความ ต้องรายงานผลการไกล่เกลี่ย - ถ้าการไกล่เกลี่ยสำเร็จ จะจัดให้มีการทำสัญญายอมความ หรือขอให้เรียกคู่ความมาทำสัญญายอมความ - สัญญายอมความจะต้องไม่ฝ่าฝืนต่อกฎหมายและความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

ภารกิจของกระทรวง ๑. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รักษาการตามกฎหมายนี้ ๒. แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ ๓. ออกกฎกระทรวง ๔. ออกระเบียบ ๕. จัดทำรายงานประจำปี ต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาปีละครั้ง - แสดงจำนวนคดี - จำนวนคำสั่งกำหนดมาตรการหรือวิธีการบรรเทาทุกข์ - จำนวนการละเมิดคำสั่งกำหนดมาตรการหรือวิธีการบรรเทาทุกข์ของพนักงานเจ้าหน้าที่และศาล - จำนวนการยอมความ

เอวังก็มีด้วยประการละฉะนี้ สวัสดี