ผลการดำเนินงานโครงการ Rapid Response Team (RRT ) ปี 2560 หอผู้ป่วย NICU 1 โรงพยาบาลนครพิงค์
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ ทารกแรกเกิดกลุ่มเสี่ยง ที่คลอดในโรงพยาบาลนครพิงค์ ได้แก่ ทารกแรกเกิดที่เป็นทารกคลอดก่อนกำหนด (premature baby) และทารกแรกเกิดที่มีความเสี่ยง (high risk newborn) ทารกแรกเกิดกลุ่มดังกล่าวอยู่ในภาวะคุกคามชีวิตขณะคลอดในห้องคลอดหรือห้องผ่าตัด ต้องการการช่วยเหลือตั้งแต่คลอดออกมา โดยการประเมินและให้การช่วยเหลือ จนมีความปลอดภัย ลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต และลดภาวะแทรกซ้อนที่หลีกเลี่ยงได้ จนสามารถย้ายมาอยู่ในหอผู้ป่วยวิฤตทารกแรกเกิด คณะทำงานฯ ได้พัฒนางาน Rapid response team โดยทีม PCT กุมารเวชกรรมและเชื่อมโยงกับ PCT สูติ-นรีเวชกรรม
เป้าหมาย เพื่อให้ผู้ป่วยทารกแรกเกิดกลุ่มเสี่ยงที่คลอดในโรงพยาบาลนครพิงค์ ได้รับการช่วยเหลือจากทีม RRT PCT กุมารเวชกรรม อย่างทันเวลาภายในระยะเวลา 10 นาที มีความปลอดภัย และไม่เสียชีวิตโดยไม่คาดคิด
กิจกรรมการพัฒนา (1) แนวคิดการออกแบบกิจกรรมการพัฒนามาตรฐาน Rapid response team plus โดยใช้หลัก STABLE program ที่มีการเชื่อมโยงระหว่าง PCT และสหสาขาวิชาชีพ
OR & AN ER LR
กิจกรรมการพัฒนา (2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง) (2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง) 2.1 RRT จาก NICU1 นำข้อมูลและปัญหา อุปสรรคที่พบ มาวิเคราะห์ พบว่าหน่วยงานห้องคลอด ต้องการพัฒนาทักษะด้านการควบคุมอุณหภูมิกายทารก และการใช้เครื่อง Neo puff แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวางแผนและพัฒนางาน
กิจกรรมการพัฒนา (2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง) (2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง) 2.3 จัดทำมาตรฐานรถ emergency สำหรับทารกแรกเกิดในห้องคลอดและห้องผ่าตัด เพื่อให้เป็นมาตรฐาน สะดวกในการใช้งาน 2.4 ให้หอผู้ป่วย NICU ห้องคลอด ห้องผ่าตัด จัดทำถุง Zip lock เพื่อให้ความอบอุ่นแก่ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักต่ำกว่า 1,500 กรัม
กล่อง RRT ถุง Zip lock
กิจกรรมการพัฒนา (2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง) (2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง) 2.5 CQI แบบประเมินความพร้อมใช้อุปกรณ์/กิจกรรมที่ได้ปฏิบัติ ในการออก RRT โดยกุมารแพทย์ (after action review) โดยเพิ่มรายละเอียดด้านบุคลการที่ออก RRT ระยะเวลาที่ใช้ในการออก RRT
กิจกรรมการพัฒนา (2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง) (2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง) 2.6 จัดประชุมระหว่าง PCT และสหสาขาวิชาชีพ ทุก 6 เดือน เพื่อให้ทุกส่วนรับทราบผลการดำเนินงาน ร่วมกันแก้ไขปัญหาที่พบอย่างสอดคล้องกับบริบทของแต่ละงาน
การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
ขอบคุณค่ะ