ปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปกลุ่ม 5 ทิศทางการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันในระดับสากลของไทย
Advertisements

โดย ณรงค์ชัย อัครเศรณี, Ph.D.
จุดเน้น สพฐ. ปี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก
Sustainable Healthcare & Health Promotion
ระบบเครือข่ายห้องปฏิบัติการแห่งชาติ
Efficiency & Economy DRMC. ทางเลือก INPUTS OUTPUTS Land, Labor, Capital Consumer Goods Defense Goods Investment Items, etc..
To “Smart Country Technology” DR.SURACHAI SRISARACAM
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
สิ่งที่น่ารู้ในการนำองค์กรสู่ความยั่งยืน
จัดทำโดย ด.ญ.ดวงเดือน รักนุ้ย ชั้น ป.4/2 เลขที่31
เมนูหลัก เนื้อหา อาจารย์ที่ปรึกษา ประวัติผู้จัดทำ.
THANAPORN WONGDONTRI สถานพักตากอากาศระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุหลังวัยเกษียณ ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงและการออกแบบสถาปัตยกรรมที่ยั่งยืน LONG STAY.
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
1 การประชุมคณะทำงาน ครั้งที 1-3 กระประชุมคณะกรรมการ ครั้งที 1 การประชุมคณะทำงาน ครั้งที 4-5 การประชุม Stakeholder การประชุมคณะกรรมการ ครั้งที 2 การจัดทำแผนปฏิบัติ
เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy.
สหเวชศาสตร์(กายภาพบำบัด)
THEORIES of POLITICAL ECONOMY And POLITICAL ECONOMY of DEVELOPMENT ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
LOGO การปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง. แผนที่เดินทาง Roadmap.
นำยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2555
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การจัดการศึกษาเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน ปีงบประมาณ พ. ศ
ดร. สมบัติ สุวรรณพิทักษ์ กระทรวงศึกษาธิการ
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๑๕ ( เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท ) ปี การศึกษา ๒๕๕๙ ดร. กัมพล ไชยนันท์ ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
The Second ASEAN+3 Seminar on Poverty Reduction
แม่แบบที่ดีของการบริการ
การบรรยายพิเศษ สหกิจศึกษานานาชาติ International Cooperative Education โดย ดร.สุเมธ แย้มนุ่น อุปนายกสมาคมสหกิจศึกษาไทย โครงการเตรียมความพร้อมสู่สหกิจศึกษานานาชาติ
นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ
Principle of Marketing
Automotive and Alternative Fuel Laboratory (AAFL)
บรรยายวิชาการบริหารการคลังภาครัฐ หลักสูตรการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ ระดับชำนาญการรุ่นที่ 10 วันที่ 2 มิถุนายน 2558 โดย สุดา ดุลยประพันธ์
ผู้ตอบแบบสอบถาม ไตรมาส 2 ปี 2555
Road to the Future - Future is Now
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
ความรู้เกี่ยวกับการ นำเข้าและส่งออก
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
กลุ่มประสิทธิภาพกลุ่มที่ 1 (เขตตรวจราชการที่ 1, 2 และ 4)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ
การทบทวนกระบวนการจัดทำแผน
บทที่ 7 การคลังสาธารณะ.
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
งบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy
ประเด็นภารกิจไตรมาส 2-4 ปี 61 ที่มอบจังหวัดในเขตตรวจฯฯ
แนวทางการจัดทำแผนงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การคำนวณต้นทุนผลผลิต วันที่ ก. พ
สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย
การบริหารโครงการ ยุทธนา พรหมณี.
Click to edit Master title style
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ทิศทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด
การทบทวนผลการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาฝีมือแรงงาน ปีงบประมาณ 2559
แนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาค โดย ว่าที่ ร.อ.จิตร์ ศิรธรานนท์
เศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงชีวิต
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
กองคลัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
เมืองไทยกับกองทุน การเงินระหว่างประเทศ (IMF)
การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างกิจการใหม่
การเขียนย่อหน้า.
ค่าจ้างต้องสมดุลกับผลิตภาพ : ทางออกแรงงานไทยก้าวผ่านเศรษฐกิจดิจิทัล
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
งาน Trade Association’s President Club (TAP)
แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy.
ลักษณะทั่วไปของการขนส่ง Transport General Features
4. เกณฑ์การให้คะแนนการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy

พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็ม ที่ตอกรองรับบ้านเรือน ตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำไป” พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว พอประมาณ ทางสายกลาง  พอเพียง เงื่อนไขความรู้ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง เงื่อนไขคุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต อดทน เพียร มีสติ ปัญญา เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ก้าวหน้า สมดุล มั่นคง และยั่งยืน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง

หลักของความพอประมาณ (พอดี) 5 ประการ เข็มแข็ง มีจิตสำนึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม 1.พอดีด้านจิตใจ 2.พอดีด้านสังคม 3.พอดีด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4.พอดีด้านเทคโนโลยี 5.พอดีด้านเศรษฐกิจ ช่วยเหลือเกื้อกูล รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบและเกิดความยั่งยืน สูงสุด รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและสอดคล้องต่อความต้องการ เป็นประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและพัฒนาจากภูมิปัญญาชาวบ้านก่อน เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดำรงชีวิตอย่างพอควร พออยู่ พอกิน สมควรตามอัตตาภาพและฐานะของตน

หลักของความมีเหตุผล 5 ประการ 1.ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีวิต 2.ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ในการดำรงชีวิต 3.ละเลิกการเก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในทางการค้าขายประกอบอาชีพแบบ ต่อสู้กันอย่างรุนแรง 4.ไม่หยุดนิ่งที่หาหนทางในชีวิต หลุดพ้นจากความทุกข์ยาก 5.ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลด เลิก สิ่งยั่วกิเลสให้หมดสิ้นไป ไม่ก่อความชั่วให้ เป็นเครื่องทำลายตัวเอง ทำลายผู้อื่น พยายามเพิ่มพูนรักษาความดี ที่มีอยู่ให้ งอกงามสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

หลักของความมีภูมิคุ้มกัน 2 ประการ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบครอบ และระมัดระวัง ภูมิธรรม : ซื่อสัตย์ สุจริต ขยันอดทนและแบ่งปัน

พอเพียง คือ ไม่เบียดเบียน ความพอเพียงนี้ อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ทำอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง พระราชดำรัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)

โลภน้อย คือ พอเพียง คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย. ถ้าทุกประเทศมีความคิด-อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ- มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข. พระราชดำรัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)

เป้าหมายของการพัฒนา การพัฒนาคนให้ พออยู่พอกิน → อยู่ดีมีสุข พึ่งตนเองได้ระดับหนึ่ง มีศักยภาพ / มีทางเลือก สุขภาพ ความรู้ ทักษะ อาชีพ เสรีภาพ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ได้อย่างสันติสุข ไม่เบียดเบียน ไม่เอารัดเอาเปรียบ แบ่งปันเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีจิตเมตตา จิตสาธารณะ อยู่ร่วมกับธรรมชาติ & สิ่งแวดล้อม ได้อย่างยั่งยืน ไม่ทำลาย เห็นคุณค่า อนุรักษ์ พออยู่พอกิน → อยู่ดีมีสุข

สรุปเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร เป็นวิถีการดำเนินชีวิต ที่ใช้คุณธรรมนำความรู้ เป็นการพัฒนาตัวเอง ครอบครัว องค์กร ชุมชน สังคม ประเทศชาติ ให้ก้าวหน้าไปพร้อมกับความสมดุล มั่นคง ยั่งยืน เป็นหลักปฏิบัติเพื่อให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ระหว่างคนกับคนในสังคม และคนกับธรรมชาติ

การประยุกต์ใช้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยพื้นฐานก็คือ การพึ่งตนเอง เป็นหลัก การทำอะไรอย่างเป็นขั้นเป็นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผล และการพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ การสร้างสามัคคีให้เกิดขึ้น บนพื้นฐานของความสมดุลในแต่ละสัดส่วน แต่ละระดับ ครอบคลุมทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงจิตใจ และวัฒนธรรม

การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในด้านต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ ลดรายจ่าย/เพิ่มรายได้/ใช้ชีวิตอย่างพอควร/คิดและวางแผนอย่างรอบคอบ/มีภูมิคุ้มกันไม่เสี่ยงเกินไป/การเผื่อทางเลือกสำรอง ด้านจิตใจ มีจิตใจเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ /มีจิตสำนึกที่ดี /เอื้ออาทรประนีประนอม /นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก ด้านสังคม ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน /รู้รักสามัคคี /สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน ด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและรอบคอบ /เลือกใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด / ฟื้นฟูทรัพยากรเพื่อให้เกิดความยั่งยืนสูงสุด ด้านเทคโนโลยี รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและสภาพแวดล้อม (ภูมิสังคม) /พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านเองก่อน /ก่อให้เกิดประโยชน์กับคนหมู่มาก

รู้เหตุ รู้ผล รู้ตน รู้ประมาณ รู้กาล รู้บุคคล รู้ชุมชน ตัวอย่างแนวทางการวิเคราะห์ความพอเพียง โดยใช้ หลักสัปปุริสธรรม ๗ รู้เหตุ รู้ผล รู้ตน รู้ประมาณ รู้กาล รู้บุคคล รู้ชุมชน ความมีเหตุมีผล ความพอประมาณ มีภูมิคุ้มกันที่ดี

คุณลักษณะของกิจกรรม ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ พอเหมาะกับ สภาพ/อัตภาพของตน (ปัจจัยภายใน) พอควรกับภูมิสังคม/ (ปัจจัยภายนอก) (สมดุล) ความมีเหตุมีผล รู้สาเหตุ – ทำไม รู้ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง วิชาการ/กฏหมาย /ความเชื่อ/ประเพณี รู้ผลกระทบที่จะ เกิดขึ้นในด้านต่างๆ (รอบรู้/สติ ปัญญา) มีภูมิคุ้มกันที่ดี คำนึงถึงการเปลี่ยนแปลง ในด้านต่างๆ รู้เท่าทันและ เตรียมความพร้อม (วางแผน/รอบคอบ/เรียนรู้/ พัฒนาตน/จิตสาธารณะ/ รักษ์สิ่งแวดล้อม) (ไม่ประมาท) สามารถพึ่งตนเองได้ และเป็นที่พึ่งของผู้อื่นได้ในที่สุด

ตัวอย่างการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง ในระดับบุคคลและครอบครัว ตัวอย่างการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง ในระดับบุคคลและครอบครัว

ตัวอย่างการใช้จ่ายอย่างพอเพียง พอประมาณ : รายจ่ายสมดุลกับรายรับ มีเหตุมีผล : ใช้จ่ายอย่างมีเหตุผล /มีความจำเป็น /ไม่ใช้สิ่งของเกินฐานะ /ใช้ของอย่างคุ้มค่าประหยัด มีภูมิคุ้มกัน : มีเงินออม /แบ่งปันผู้อื่น /ทำบุญ ความรู้คู่คุณธรรม : ประกอบอาชีพที่สุจริต ด้วยความขยันหมั่นเพียร ใช้สติปัญญาในการตัดสินใจและดำเนินการต่างๆ เพื่อให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง

สรุปข้อสังเกตเกี่ยวกับ การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกิดได้หลายด้าน และหลายรูปแบบ ไม่มีสูตรสำเร็จ แต่ละคนจะต้องพิจารณาปรับใช้ ตามความเหมาะสม ให้สอดคล้องกับเงื่อนไข และสภาวะที่ตนเผชิญอยู่ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะช่วยให้เรา “ฉุกคิด” ว่ามีทางเลือกอีกทางหนึ่ง ที่จะช่วยให้เกิดความยั่งยืน มั่นคง และสมดุลในระยะยาว

เศรษฐกิจพอเพียงกับการศึกษา

ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ) หลักปฏิบัติ ตัวอย่างกิจกรรม รู้จักการใช้จ่ายของตนเอง ใช้จ่ายอย่างมีเหตุมีผล อย่างพอประมาณ ประหยัด เท่าที่จำเป็น บันทึกบัญชีรายรับและรายจ่าย วิเคราะห์บัญชีรายรับและรายจ่าย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเพื่อลดรายจ่ายที่ฟุ่มเฟือย

ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ) หลักปฏิบัติ ตัวอย่างกิจกรรม รู้จักออมเงิน มีกลไก ลดความเสี่ยง ระบบสวัสดิการ ระบบออมเงิน ระบบสหกรณ์ ระบบประกันต่างๆ ออมอย่างพอเพียง สัปดาห์การออม จัดตั้งกลุ่ม/สหกรณ์ ออมทรัพย์

ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ) หลักปฏิบัติ ตัวอย่างกิจกรรม รู้จักประหยัด ใช้และกินอย่างมีเหตุผลไม่ฟุ่มเฟือย ใช้พลังงานเท่าที่จำเป็น ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ ไว้กิน ไว้ขาย ใช้สินค้าที่ประหยัดพลังงาน รีไซเคิลขยะเพื่อนำมาใช้ใหม่ นำของเหลือใช้ มาทำให้เกิดประโยชน์

ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา (ด้านเศรษฐกิจ) หลักปฏิบัติ ตัวอย่างกิจกรรม พึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจโดยผลิต หรือสร้างรายได้ ที่ สอดคล้องกับความต้องการ สอดคล้องกับภูมิสังคม สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่น สอดคล้องกับทรัพยากรท้องถิ่น เน้นการผลิตเพื่อพึ่งตนเอง ให้พอเพียงกับการบริโภค และการผลิตที่หลากหลาย เช่น ปลูกพืชผักผสมผสาน ปลูกพืชสมุนไพรไทย ผลิตสินค้าจากภูมิปัญญา ท้องถิ่น จัดอบรมพัฒนาอาชีพใน ชุมชน

ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา (ด้านสังคม) หลักปฏิบัติ ตัวอย่างกิจกรรม รู้จักช่วยเหลือสังคม หรือชุมชน ปลูกจิตสำนึกสาธารณะ ปลูกฝังความสามัคคี ปลูกฝังความเสียสละ เผยแพร่องค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาความรู้คู่คุณธรรม ผ่านกิจกรรมรวมกลุ่มต่างๆ จัดกิจกรรมลด ละ เลิก อบายมุข จัดกิจกรรมช่วยเหลือ ผู้ด้อยโอกาส จัดค่ายพัฒนาเยาวชน จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ภายในชุมชน

ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา (ด้านสิ่งแวดล้อม) หลักปฏิบัติ ตัวอย่างกิจกรรม สร้างสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติ ปลูกจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม ฟื้นฟูแหล่งเสื่อมโทรมในท้องถิ่น ฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรในท้องถิ่น ฟื้นฟูดูแลสถานที่ท่องเที่ยวในท้องถิ่น พัฒนาความรู้เกี่ยวกับดิน น้ำ ป่า เพื่อฟื้นฟู รักษา โครงการชีววิถี จัดอบรมการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ จัดทำฝายแม้ว

ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา (ด้านวัฒนธรรม) หลักปฏิบัติ ตัวอย่างกิจกรรม สืบสานวัฒนธรรมไทย สร้างจิตสำนึกรักษ์ไทย รักบ้านเกิด ฟื้นฟูและอนุรักษ์อาหารประจำท้องถิ่น ฟื้นฟูและอนุรักษ์ดนตรีไทยและเพลงไทย ฟื้นฟูและอนุรักษ์วัตถุโบราณและโบราณสถาน ปลูกฝังมารยาทไทย ส่งเสริมอาหารประจำท้องถิ่น ส่งเสริมการใช้ภาษาไทยและภาษาประจำท้องถิ่น ทำนุบำรุงโบราณวัตถุและโบราณสถาน พัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น รณรงค์การใช้สินค้าไทย

ตัวอย่างกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา (ด้านวัฒนธรรม) หลักปฏิบัติ ตัวอย่างกิจกรรม ส่งเสริมพระพุทธศาสนา ปลูกจิตสำนึกความรักชาติ ตระหนักถึงคุณค่าของพระพุทธศาสนาและศาสนาที่ตนศรัทธา จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ให้ความสำคัญกับการรักษาศีลหรือสวดมนต์เป็นประจำ ส่งเสริมการฝึกอบรมสมาธิภาวนา ร่วมกันทะนุบำรุงศาสนาด้วยการปฏิบัติบูชา และการร่วมดูแลวัด และศาสนสถานต่างๆ

การเขียนแผนแบบบูรณาการ ยึดสาระสังคมเป็นหลัก เพราะสังคมจะมีหัวข้อ และเนื้อหา ชัดเจนให้สอดแทรกความคิด/คุณค่า คุณลักษณะที่พึงประสงค์ลงไปได้ ยุทธศาสตร์การสอนของครู สอดแทรกความรับผิดชอบ ความคิดอิสระ ริเริ่มสร้างสรรค์ลงไป เน้นให้เด็กแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ปัญหาต่างๆที่อยู่รอบตัว โดยมีครูค่อยชักจูงให้คิดแบบ โยนิโสมนสิการ และมีกัลยาณมิตร คอยท้วงติง แนะนำ ด้วยความจริงใจ เพื่อความอยู่ร่วมกันอย่างเกิดประโยชน์และเป็นสุข ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนรู้

พอมี พออยู่ พอกิน ครับ สวัสดี