งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การทบทวนกระบวนการจัดทำแผน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การทบทวนกระบวนการจัดทำแผน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การทบทวนกระบวนการจัดทำแผน
นางสาวเยาวพร ปิยมาพรชัย ผอ.สำนักพัฒนาระเบียบราชการส่วนภูมิภาค และความสัมพันธ์กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 30 พ.ค. 2554

2 ประเด็นนำเสนอ หลักเกณฑ์และแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 หลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ที่มา : มติ ก.น.จ. ครั้งที่ 2/2554 วันที่ 4 พ.ค. 2554

3 หลักเกณฑ์และแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 3 3

4 คงเดิม หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/
กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 คงเดิม และเพิ่มเติม เฉพาะข้อ 1  หลักการ  ขอบเขตของแผนพัฒนาจังหวัดและ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 1. กรอบหลักในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัด นโยบายของรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค ยุทธศาสตร์รายสาขา ผลการศึกษาของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง แผนงานด้านความมั่นคง แผนพัฒนาจังหวัด มุ่งการพัฒนาจังหวัดแบบองค์รวมที่ครอบคลุมทุกมิติ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและความมั่นคง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างโอกาสและอาชีพซึ่งตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในจังหวัด 2. มุ่งเน้นการทำงานแบบเครือข่ายร่วมกัน ทุกภาคส่วนโดยคำนึงถึงความพร้อมของ ทุกภาคส่วน แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด มุ่งเน้นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของกลุ่มจังหวัด และนำไปสู่การกระตุ้นให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชนและสร้างรายได้ให้กลุ่มจังหวัด 3. รับฟังความคิดเห็นของประชาชนในท้องถิ่น ในจังหวัด 4. ให้ความสำคัญกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด มากขึ้น 4 4

5 หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
คงเดิม  แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ความสอดคล้องเชื่อมโยง กับกรอบหลักในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด อาทิ นโยบายรัฐบาล แผนชาติ กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค ฯลฯ กับศักยภาพ โอกาส สภาพปัญหาและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ คุณภาพของแผน ผ่านกระบวนการเห็นชอบร่วมกันของทุกฝ่าย มีความชัดเจน เป็นเหตุเป็นผล สอดคล้องเชื่อมโยงตั้งแต่วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ และแผนงาน/โครงการ (Logical Framework) โดยมีรายละเอียดดังนี้ ก. มีการกำหนดประเด็นปัญหาและโอกาสการพัฒนาชัดเจน ทั้งในเชิงของขนาด และพื้นที่ พร้อมทั้งจัดลำดับ ความสำคัญของปัญหาและโอกาสการพัฒนานั้นๆ ข. มีวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายในเชิงปริมาณและคุณภาพที่ชัดเจน ค. มีประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา และการแก้ไขปัญหาที่ตอบสนองกับวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย ของแผน โดยในการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์จะต้องมีการหาข้อตกลงร่วมกันเพื่อยืนยันประเด็นยุทธศาสตร์ นั้น ๆ และเป็นที่ยอมรับของทุกภาคส่วน ง. มีการจัดลำดับความสำคัญของประเด็นยุทธศาสตร์ จ. มีแผนงาน/โครงการ ตอบสนองกับแนวทางพัฒนานั้นๆ และมีการจัดลำดับความสำคัญของโครงการ 5 5

6 หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/
กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ต่อ) คงเดิม แนวทางการจัดทำโครงการที่จะนำมาจัดทำเป็นคำของบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1 2 3 ความจำเป็น ของโครงการ ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโครงการ 4 ความคุ้มค่า เป็นโครงการที่ต้อง สอดคล้องและ เชื่อมโยงกับประเด็น ยุทธศาสตร์ของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ช่วยพัฒนาหรือ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น หรือหากไม่ดำเนินการ จะเกิดความเสียหาย เพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน และ สร้างรายได้ให้ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ด้านเทคนิค (วิธีการหรือรูปแบบดำเนินการ) ด้านกายภาพ (ความพร้อมของพื้นที่ บุคลากร การบริหารจัดการ) ด้านงบประมาณ (วงเงิน กับประโยชน์ที่ได้ ด้านระยะเวลา (เสร็จภายในปีงบประมาณ ,มีการวิเคราะห์ผลกระทบทางลบ) ผลลัพธ์หรือ ประโยชน์ของ โครงการที่ คาดว่าจะ ได้รับ 6 6

7 คงเดิม หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/
กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ต่อ) คงเดิม โดยปรับข้อ 1 ให้สมบูรณ์ขึ้น และ 4 ลักษณะโครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณจังหวัด โครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณของจังหวัด ต้องเป็นโครงการที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด และนำไปสู่การแก้ปัญหาของจังหวัด และตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่ เช่น 1. การดำเนินเศรษฐกิจชุมชนหรือการพัฒนาพื้นที่ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อาทิ โครงการที่สนับสนุนและส่งเสริมการเพิ่มศักยภาพในการประกอบอาชีพ การเพิ่มรายได้และสร้างโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน การพัฒนาสินค้า OTOP 2. การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ 3. การฟื้นฟูและพัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัด 4. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เช่น การป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างยั่งยืน ตัวอย่างเช่น การแก้ไขปัญหาน้ำท่วม หรือปัญหาภัยแล้ง การป้องกันภัยที่เกิดจากไฟป่า ดินถล่ม สึนามิ แผ่นดินไหว ฯลฯ เป็นต้น 5. การยกระดับคุณภาพชีวิต 6. มิติความมั่นคง 7 7

8 คงเดิม หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/
กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ต่อ) คงเดิม ลักษณะโครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณกลุ่มจังหวัด โครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณของกลุ่มจังหวัด ต้องเป็นโครงการที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด และเป็นโครงการที่แสดงถึงการบูรณาการและได้รับประโยชน์ร่วมกันของกลุ่มจังหวัด เช่น 1. การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy) อาทิ การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างมูลค่าเพิ่ม รวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้า OTOP 2. การพัฒนาคุณภาพและสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าเกษตร 3. การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่เฉพาะ/พื้นที่พิเศษ อาทิ กลุ่มการค้าชายแดน กลุ่มธุรกิจและสินค้าฮาลาล 4. การพัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนเพื่อเพิ่มการจ้างงานและกระจายรายได้สู่ชุมชน 5. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 8 8

9 คงเดิม หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/
กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ต่อ) คงเดิม โดยปรับข้อ 6 ให้สมบูรณ์ขึ้น ลักษณะโครงการที่ไม่ควรเสนอขอเป็นคำของบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1. พื้นที่ดำเนินการอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ หรือที่สาธารณะ เว้นแต่ได้รับอนุญาตหรือเห็นชอบจากหน่วยงาน ที่รับผิดชอบ 2. ไม่ควรก่อสร้างถนนที่เป็นการก่อสร้างเส้นทางใหม่ เว้นแต่เป็นการสร้างทาง ที่จะทำให้ประเด็นยุทธศาสตร์ ของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัดบรรลุผลได้อย่างแท้จริง 3. เป็นการจัดซื้อครุภัณฑ์เพื่อแจกจ่ายแก่ประชาชนโดยตรง ยกเว้นในกรณีของครุภัณฑ์ที่จัดซื้อนั้นเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมภายใต้โครงการที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 4. มีวัตถุประสงค์หลักเกี่ยวกับศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน (เว้นแต่ฝึกอบรมด้านอาชีพ และวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาที่สำคัญของพื้นที่ หรือการทำแผนแม่บทซึ่ง มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ซึ่งต้องใช้องค์ความรู้จากสถาบันการศึกษา) 5. เป็นโครงการในลักษณะของกิจกรรมย่อย (ควรมีการบูรณาการภารกิจหรือกิจกรรมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกันเป็นโครงการ เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาเชิงบูรณาการอย่างมีประสิทธิผล) 6. เป็นโครงการบริการสาธารณะ หรือบริการประชาชนซึ่งเป็นภารกิจประจำของ หน่วยงานราชการต่างๆ หรือ อปท. อยู่แล้ว เว้นแต่หน่วยงานนั้นไม่มีแผนดำเนินการและเป็นโครงการที่จะทำให้ประเด็นยุทธศาสตร์บรรลุผลอย่างแท้จริง 9 9

10 หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/
กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (ต่อ) เพิ่มใหม่ ตามข้อเสนอ ของ สงป. ข้อมูลรายละเอียดโครงการในการจัดทำคำขอตั้งงบประมาณ ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 1. โครงการจะต้องมีรายละเอียดข้อมูลที่ครบถ้วนตามแบบฟอร์มที่ ก.น.จ. กำหนด 2. โครงการจะต้องมีรายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่ายที่ อ.ก.น.จ. ด้านแผนและด้านงบประมาณสามารถ พิจารณาความเหมาะสมของค่าใช้จ่ายได้ หากไม่มีรายละเอียดค่าใช้จ่าย ให้จังหวัด/กลุ่มจังหวัด จัดทำ รายละเอียดค่าใช้จ่ายและนำเสนอโครงการเพื่อพิจารณาอีกครั้งหนึ่ง 3. กรณีเป็นการขออนุมัติงบลงทุน หรือรายจ่ายอื่นใดที่มีผลให้เกิดภาระด้านงบประมาณในลักษณะของ ค่าใช้จ่ายที่จะต้องตั้งงบประมาณทุกปี เช่น ค่าใช้จ่ายด้านการบริหารจัดการ ด้านการบำรุงรักษา ให้จังหวัด/กลุ่มจังหวัดแสดงถึงหน่วยงานที่รับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นในปีต่อไป รวมทั้งต้องมี ร่างบันทึกข้อตกลงระหว่างจังหวัดกับหน่วยงานดังกล่าวในการขอตั้งงบประมาณ และการโอนทรัพย์สินที่ เกิดจากการดำเนินโครงการต่อไป 4.กรณีเป็นโครงการก่อสร้างจะต้องระบุความพร้อมของพื้นที่ดำเนินงานรวมทั้งรูปแบบรายการโดยสังเขป 5. การจัดทำโครงการจะต้องกำหนดหน่วยงานรับผิดชอบโครงการที่เป็นหน่วยดำเนินโครงการนั้น จริง ๆ

11 ขั้นตอนในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการจัดทำ
แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (พ.ค. – 18 ส.ค. 54) (ก.ย. 54) ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ก.บ.จ. และ ก.บ.ก. จัดส่งให้ ก.น.จ. ดังนี้ 1) แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ที่ผ่านการทบทวน 2) รายละเอียดโครงการตามแผน พัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดที่จะ ขอรับการสนับสนุนจากส่วนราชการ ในปี งปม. พ.ศ (จัดส่ง ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องด้วย) 3.1 อ.ก.น.จ. ด้านแผนฯ พิจารณา กลั่นกรองแผนพัฒนาจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด และให้ข้อสังเกต เพื่อนำไปจัดทำรายละเอียดของ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ต่อไป จังหวัด/กลุ่มจังหวัดทบทวนสถานการณ์แผนพัฒนาจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด 3.2 จัดประชุมร่วมระหว่างจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด (Area) กับส่วนราชการ (Function) เพื่อบูรณาการโครงการ ที่จังหวัด กลุ่มจังหวัดขอรับการ สนับสนุนงบประมาณจากส่วนราชการ ประจำปี งปม. พ.ศ. 2556 (ต.ค. – 17 พ.ย. 54) (21 พ.ย. – 30 ธ.ค. 54) (ม.ค. 55) ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 6 ก.บ.จ. และ ก.บ.ก. จัดทำ รายละเอียดแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปี งปม. พ.ศ ตาม ข้อสังเกตของ อ.ก.น.จ. ด้านแผนฯ และส่งให้ ก.น.จ. พิจารณา อ.ก.น.จ. ด้านแผนฯ พิจารณา กลั่นกรองแผนปฏิบัติราชการประจำปีฯ ประจำปี งปม. พ.ศ โดยให้จังหวัด/ กลุ่มจังหวัดเข้าร่วมชี้แจง ก.น.จ./ครม. อนุมัติแผน และ ก.น.จ. จัดส่งแผนฯ ให้ สงป. โดยถือเป็น คำขอ งปม.จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด

12 ปฏิทินการการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด /กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ขั้นตอน พ.ค. 54 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.54 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 55 1. ประชุม ก.น.จ. พิจารณาเห็นชอบหลักเกณฑ์แนวทางฯ 2. แจ้งเวียนมติ ก.น.จ. / ชี้แจงแนวทางหลักเกณฑ์การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีฯ 9-12 3. ทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด โดยการประเมินสถานการณ์ สภาพแวดล้อมภายนอก ที่มีผลกระทบต่อศักยภาพของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดเพื่อยืนยันแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 18 4. ก.บ.จ./ก.บ.ก. ส่งแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ให้ฝ่ายเลขานุการ อ.ก.น.จ. ด้านแผนฯ คณะที่ 1-5 19 5. จัดประชุม อ. ก.น.จ.ฯ คณะที่ 1-5 เพื่อให้จังหวัด/กลุ่มจังหวัดมานำเสนอร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2556 - จัดประชุมร่วมระหว่างจังหวัด/กลุ่มจังหวัด (Area) กับส่วนราชการ (Function) เพื่อบูรณาการโครงการที่จังหวัดและกลุ่มจังหวัดขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ 2556 6. จัดทำรายละเอียดของแผนปฏิบัติราชการประจำปีฯ ตามข้อสังเกตของ อ.ก.น.จ.ฯ 17 7. ส่งแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปี พ.ศ ให้ ก.น.จ. และส่วนราชการ 8. พิจารณากลั่นกรองแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด โดยให้จังหวัด/กลุ่มจังหวัดมาร่วมชี้แจง 9. ประชุม ก.น.จ. เพื่อพิจารณาแผนฯ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด 10. เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาเห็นชอบแผนฯ 4 21 พ.ย. – 30 ธ.ค. 16 31 12 12

13 ปฏิทินการการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด /กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ต่อ)
ขั้นตอน ก.พ. 55 มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.- ก.ค. ส.ค. ก.ย. 11. ก.น.จ. นำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ซึ่งถือเป็นคำของบประมาณของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ส่งสำนักงบประมาณ - จังหวัดและกลุ่มจังหวัดบันทึกข้อมูลคำขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ในระบบ e-budgeting ของสำนักงบประมาณให้แล้วเสร็จ 1 12. สงป. พิจารณาและจัดทำรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ เพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรี 2 26 13. คณะรัฐมนตรี พิจารณาให้ความเห็นชอบรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ พร้อมหลักเกณฑ์การปรับปรุงงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 14. จังหวัด/กลุ่มจังหวัดปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ และส่งสำนักงบประมาณ 28 5 15. สงป. พิจารณาปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ เพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรี 9 -23 16. ครม. พิจารณาให้ความเห็นชอบการปรับปรุงงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 17. ครม. พิจารณาให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ และนำเสนอสภาผู้แทนราษฎร 18. พิจารณา ในวาระที่ 1 23-24 19. พิจารณา ในวาระที่ 2 – 3 15-16 20. พิจารณาให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 3 21. นำร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ขึ้นทูลเกล้าถวายเพื่อประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมายต่อไป 7 27 24 8 13 13 ลำดับที่ 11 – 21 จะต้องปรับแก้ให้สอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรี ต่อไป

14 เอกสารที่จัดส่ง ก.น.จ. รายการเอกสาร กำหนดจัดส่ง
1. สรุปผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด… 19 สิงหาคม 2554 2. แบบฟอร์มการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด (แบบ จ. 1/ กจ. 1) 3. รายการตรวจสอบการดำเนินการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ จังหวัด /กลุ่มจังหวัด.... 4. แบบสรุปโครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ที่จะขอรับการสนับสนุนจากส่วนราชการ ในปีงบประมาณ พ.ศ จำแนกตามกระทรวง กรม (แบบ 1) 5. แบบแสดงโครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด พ.ศ (จำแนกตามกระทรวง กรม) (แบบ 2) แบบฟอร์มการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. .... 18 พฤศจิกายน 2554

15 ปีงบประมาณ พ.ศ. ระยะเวลาจัดทำ 2553 ประมาณ 17 วัน 2554 ประมาณ 25 วัน
เปรียบเทียบระยะเวลาการจัดทำแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติราชการประจำปี ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดในแต่ละปีงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. ระยะเวลาจัดทำ 2553 ประมาณ 17 วัน 2554 ประมาณ 25 วัน 2555 ประมาณ 3 เดือนเศษ 2556 ประมาณ 5 เดือนเศษ 15

16  หลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณจังหวัดและ
กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 16 16

17   หลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณ
โดยปรับขยายขอบเขต การใช้งบบริหารจัดการ คงเดิม หลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณ จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 กำหนดกรอบวงเงินเบื้องต้น 18,000 ล้านบาทไว้ก่อน หากงบประมาณรายจ่ายประจำปี ในภาพรวมเพิ่มขึ้น/ลดลง จึงให้ปรับเปลี่ยนวงเงินของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดตามสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น/ลดลงด้วย  งบบริหารจัดการจังหวัด/กลุ่มจังหวัด จังหวัดละ 10 ล้านบาท/กลุ่มจังหวัดละ 5 ล้านบาท 1) การจัดประชุมปรึกษาหารือเพื่อจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดกับภาคส่วนต่างๆ ตามมาตรา 53/1 และมาตรา 53/2 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินฯ 2) การจัดประชุมคณะกรรมการ ก.บ.จ./ ก.บ.ก. 3) การศึกษาเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด (เพิ่มใหม่) 4) การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในจังหวัด ซึ่งเป็นการดำเนินการตามมาตรา 18 วรรคสี่ ของ พ.ร.ฎ. ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดฯ (เพิ่มใหม่) 5) การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ เช่น การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในเรืองการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดแก่คณะกรรมการ ก.บ.จ. หรือ ก.บ.ก. บุคลากรในจังหวัด/กลุ่มจังหวัด การจัดทำระบบฐานข้อมูลในการจัดทำยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด การส่งเสริมคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดทำแผนฯ เป็นต้น (ขยายความให้ชัดเจนขึ้น) 6) การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจแก่ภาคส่วนต่างๆ เพื่อเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำแผนฯ รวมทั้งเพื่อสนับสนุนในการขับเคลื่อนการดำเนินการตามแผน 7) การติดตามประเมินผล (12,600 ล้านบาท) กำหนดสัดส่วนระหว่างงบประมาณกลุ่มจังหวัดและงบประมาณจังหวัด = 30 : 70 17

18 กรอบการจัดสรรงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
องค์ประกอบ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วงเงิน 18,000 ล้านบาท ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 วงเงิน 18,000 ล้านบาท ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 สัดส่วนงบประมาณ กลุ่มจังหวัด : จังหวัด (ไม่มีงบประมาณ กลุ่มจังหวัด) ไม่ได้กำหนดแต่จากการพิจารณาให้ สามารถจำแนกสัดส่วนได้เป็น 18 : 82 30 : 70 กลุ่มจังหวัด (30%) (5,400 ล้านบาท) จังหวัด (70%) (12,600 ล้านบาท)

19 แนวทางการกำหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ปีงบประมาณ 2556
คงเดิม โดยให้ปรับเฉพาะหลักเกณฑ์การพิจารณาคุณภาพแผนใหม่ เกณฑ์การพิจารณา น้ำหนัก 1. จัดสรรเฉลี่ยเท่ากันทุกจังหวัด 20 2. จัดสรรตามจำนวนประชากร 3. จัดสรรตามความผกผันของรายได้ต่อครัวเรือนในแต่ละจังหวัด 40 4. จัดสรรตาม GPP 10 5. จัดสรรตามคุณภาพแผนพัฒนาจังหวัด กลุ่มจังหวัด คงเดิม อ.ก.น.จ.ฯ งบประมาณ ที่ได้รับปี 2555 จำนวนจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด กรอบงบประมาณ ปี พ.ศ. 2556 สรุปงบประมาณปี 56 สำหรับดำเนินโครงการ (หักงบบริหารจัดการแล้ว) ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 รวมงบประมาณที่ได้รับ ปี 56 (รวมงบบริหารจัดการ 5 ล้านบาท) คณะที่ 1 1,506 21/5 750 1, 1, คณะที่ 2 918 13/3 450 คณะที่ 3 882 คณะที่ 4 954 14/3 คณะที่ 5 1,140 15/4 600 1, 1, 19

20 ปรับใหม่ หลักเกณฑ์การพิจารณาคุณภาพแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ประเด็นการพิจารณา คะแนน 1. ข้อมูลสภาพทั่วไปของจังหวัด 10 2. การวิเคราะห์สภาวการณ์และศักยภาพ 3. ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 80 3.1 วิสัยทัศน์ (10) 3.2 ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.3 เป้าประสงค์ 3.4 ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 3.5 กลยุทธ์ของแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 3.6 บัญชีรายการชุดโครงการของแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ (30) รวม 100

21 รายละเอียดหลักเกณฑ์การพิจารณาคุณภาพแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ประเด็นการพิจารณา รายละเอียด คะแนน 1. ข้อมูลสภาพทั่วไปของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ควรประกอบไปด้วย ข้อมูลการปกครอง ประชากร โครงสร้างพื้นฐาน และข้อมูลเชิงสถิติที่สำคัญของพื้นที่โดยกระชับ แต่มีประเด็น และอาจเพิ่มเติมรายละเอียดข้อมูลในบางประเด็นที่จะเป็นพื้นฐานสำหรับการวิเคราะห์ประเด็นการพัฒนาของพื้นที่ในหัวข้อต่อไป รวมทั้งข้อมูลสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (เพื่อดูการดำเนินงานในแต่ละปีที่ผ่านมาว่ามีการดำเนินการบรรลุตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดมากน้อยเพียงใด) 10 2. การวิเคราะห์สภาวการณ์และศักยภาพ ควรมีลักษณะการวิเคราะห์เป็นประเด็นที่ชัดเจนตามสถานการณ์ที่เกิดจริงในพื้นที่โดยมีข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเลขหรือปรากฏการณ์จริงรองรับ และแสดงนัยยะให้เห็นประเด็นการพัฒนาที่จะต้องดำเนินการในอนาคต 3. ยุทธศาสตร์ 3.1 วิสัยทัศน์ - มีลักษณะแสดงสถานภาพที่กลุ่มจังหวัด/จังหวัดต้องการจะเป็นหรือบรรลุถึงในอนาคตอย่างชัดเจน สอดคล้องกับโอกาสและศักยภาพที่เป็นลักษณะเฉพาะของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 80 (10) 3.2 ประเด็นยุทธศาสตร์ - มีความชัดเจน สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และเงื่อนไขเฉพาะของพื้นที่ - มีการจัดลำดับความสำคัญของประเด็นยุทธศาสตร์ 3.3 เป้าประสงค์ - มีความชัดเจน และสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และประเด็นยุทธศาสตร์ 3.4 ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ - มีความชัดเจนในเชิงปริมาณและคุณภาพ และสอดคล้องกับเป้าประสงค์ - มีความเป็นไปได้ (มีต่อ)

22 รายละเอียดหลักเกณฑ์การพิจารณาคุณภาพแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ประเด็นการพิจารณา รายละเอียด คะแนน 3.5 กลยุทธ์ของแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ - มีการกำหนดกลยุทธ์ของแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ที่สอดรับและสนับสนุนการบรรลุผลตามเป้าประสงค์ของแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ และสอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของพื้นที่ (10) 3.6 บัญชีรายการชุดโครงการ - มีการจัดลำดับความสำคัญของโครงการภายใต้แต่ละกลยุทธ์รวมทั้งการจัดลำดับความสำคัญของโครงการทั้งหมดภายใต้กรอบวงเงินตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีที่จังหวัด/กลุ่มจังหวัดเสนอ - มีโครงการทุกแหล่งงบประมาณ โดยมีการจำแนกโครงการที่ดำเนินการโดย จังหวัด/กลุ่มจังหวัด กระทรวง/กรม ท้องถิ่น ภาคธุรกิจเอกชน หรือชุมชน - โครงการมีสาระสอดคล้องและตอบสนองกลยุทธ์อย่างชัดเจน - สอดคล้องกับหลักเกณฑ์การพิจารณาโครงการของ ก.น.จ. (30) รวม 100

23 ขอขอบคุณ We invite you to come and use our professional photo lab services, and then... stay. Sip a capuccino, view our latest gallery showing or browse through our collection of photography books and magazines. Fine Art and Stock Photography Gallery – abstract impressionism, and realism in black and white, portraits, travel, landscape and digital photography. Welcome to our company. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) 59 ถนนพิษณุโลก แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพฯ โทร 23


ดาวน์โหลด ppt การทบทวนกระบวนการจัดทำแผน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google