ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
Advertisements

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เศษส่วนและการเปรียบเทียบ
น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
นายภิรักษ์ คำศรี ชื่อผลงานวิจัย : ชื่อผู้วิจัย :
การเขียนโครงร่างวิจัย
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
การอ่าน สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี ม. เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ปริมาณสเกล่าร์ และปริมาณเวกเตอร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
บทที่ 1 Probability.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
ครูปพิชญา คนยืน. ทักษะ กระบวนการ ทาง คณิตศาสตร์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 8.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ความสัมพันธ์ เศษส่วนกับทศนิยม หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101)
รูปแบบการนำเสนอผลงาน วิชา การนำเสนอรายงาน ภาคปลายการศึกษา 2549 ( งานกลุ่มวิชา ) 1. ให้นักศึกษาจัดทำรายงานเรื่อง “ บทบาทของการสื่อสารที่มีส่วนใน.
กระบวนการของการอธิบาย
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
10 คำถาม คนไทยคิดอย่างไรกับ “ หวย ” ? สำรวจช่วงเดือนตุลาคม 2556 จากประชากร 1,746 คน จาก 4 ภูมิภาค เครือข่ายประชานปฏิรูปสลาก.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
สมบัติของเลขยกกำลัง จัดทำโดย นางเพ็ญประภา รัตนะเดชะ.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การหาร ระดับ 1 อ. กิตติเชษฐ์ สวัสดิ์ธนาสกุล
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
พื้นที่ผิวของพีระมิด
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
การเขียนหัวข้อ (Proposal) ที่ดี
โดย ครูสมจินตนา เทียมวิไล
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
Introduction to Database System
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ช่องทางการติดต่อสื่อสาร
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
ISC1102 พื้นฐานทางระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง

มารู้จักจำนวนตรรกยะกันเถอะ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง จำนวนตรรกยะ มารู้จักจำนวนตรรกยะกันเถอะ หน้า 39 เก่งและแก้วคุยกันเรื่องจำนวนตรรกยะ ทั้งสองคนช่วยกันเขียนเส้นจำนวน เพื่อแสดงจำนวนบวกและจำนวนลบบางจำนวน เช่น -2, และ 4 ลงบนเส้นจำนวน -2 4 -3 -2 -1 1 2 3 4 5

เป็น เพราะ จำนวนเต็มสามารถเขียนให้อยู่ในรูปของเศษส่วนได้ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง จำนวนตรรกยะ -2 4 -3 -2 -1 1 2 3 4 5 เนื่องจากเก่งและแก้วเกิดความสงสัยบางอย่าง นักเรียนช่วยทั้งสองคนคิดหน่อยว่า ปัญหาของเก่งและแก้วต่อไปนี้ มีคำตอบเป็นอย่างไร 1. เราสามารถเขียนแทนเศษส่วนด้วยจุดบนเส้นจำนวน ได้หรือไม่ ได้ 2. เราสามารถเขียนแทนทศนิยมซ้ำด้วยจุดบนเส้นจำนวน ได้หรือไม่ ได้ 3. เราสามารถเขียนแทนจำนวนตรรกยะด้วยจุดบนเส้นจำนวน ได้หรือไม่ ได้ 4. จำนวนเต็มเป็นจำนวนตรรกยะหรือไม่ เพราะเหตุใด เป็น เพราะ จำนวนเต็มสามารถเขียนให้อยู่ในรูปของเศษส่วนได้

ไม่ได้ ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง จำนวนตรรกยะ -2 4 -3 -2 -1 1 2 3 4 5 5. เราสามารถบอกได้หรือไม่ว่าระหว่าง -1 ถึง 2 มีจำนวนตรรกยะอยู่กี่จำนวน ไม่ได้ 6. มีจำนวนตรรกยะบวกที่น้อยที่สุดหรือไม่ ไม่มี 7. มีจำนวนตรรกยะบวกที่มากที่สุดหรือไม่ ไม่มี 8. มีจำนวนตรรกยะลบที่มากที่สุดหรือไม่ ไม่มี 9. มีจำนวนตรรกยะลบที่น้อยที่สุดหรือไม่ ไม่มี

เศษส่วนที่ไม่ใช่จำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง จำนวนตรรกยะ จำนวนตรรกยะ หมายถึง จำนวนชนิดต่างๆ ดังนี้ จำนวนตรรกยะ จำนวนเต็ม เศษส่วนที่ไม่ใช่จำนวนเต็มหรือทศนิยมซ้ำ จำนวนเต็มลบ ศูนย์ จำนวนเต็มบวก

เป็นจำนวนตรรกยะหรือไม่ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง จำนวนตรรกยะ เป็นจำนวนตรรกยะหรือไม่ หน้า 43 นักเรียนคาดการณ์ว่าผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ เป็นจำนวนตรรกยะหรือไม่ เป็น 1. ผลบวกของจำนวนตรรกยะกับจำนวนตรรกยะ เป็น 2. ผลต่างของจำนวนตรรกยะกับจำนวนตรรกยะ

เป็นจำนวนตรรกยะหรือไม่ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง จำนวนตรรกยะ เป็นจำนวนตรรกยะหรือไม่ หน้า 43 นักเรียนคาดการณ์ว่าผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ เป็นจำนวนตรรกยะหรือไม่ เป็น 3. ผลคูณของจำนวนตรรกยะกับจำนวนตรรกยะ เป็น 4. จำนวนตรรกยะหารด้วยจำนวนตรรกยะที่ไม่เท่ากับศูนย์