GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
Advertisements

นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
ชีวิตหลัง ความตาย.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
จัดทำโดย นาย พิริยะ รุ่งรอด ปวช.1 แผนก คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สถานที่ท่องเที่ยวในอำเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจการแบ่งประเภท และการระบุโทษของการ กระทำความผิดแต่ละประเภท 2.
ประวัติความเป็นมา บ้านสระแก้วก่อตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ 2419 โดย พ่อใหญ่จารย์แก้ว เป็นผู้นำพาลูกหลานจากบ้านงัวบา ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม.
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบ บริเวณใดของโลก แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุนับเป็นแหล่งอารยธรรม เริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย.
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
โดย.....นายมานะ ครุธาโรจน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลมณีราษฎร์คณาลัย ตามโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาล ในสถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต”
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
ศาสนาคริสต์111
ไฟฟ้า.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
หน่วยที่ 2 สัญญาประกันภัย
หลักการเลี้ยงสัตว์ คำบรรยาย โดย ครูสีกุน นุชชา
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบ่งได้ 2 แบบ ดังนี้ 1. การให้เหตุผลแบบ อุปนัย การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นวิธีการสรุปผล จากการสังเกตหรือการทดลองเพื่อค้นหาความ.
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ศิลปะโรมัน (ROMAN ART)
ระดับความเสี่ยง (QQR)
อารยธรรมกรีกโบราณ Bilde: Akropolis.
คัมภีร์ ของศาสนาอิสลาม
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ชาติพันธุ์ / เชื้อชาติ อนุทวีปอินเดีย
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
โดย ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
ศาสนาเชน Jainism.
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
กฎหมายกับเพศภาวะ Law & gender
ระบบวรรณะ Caste System ( Varna )
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons)
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP SOUTH ASIA GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP

Culture

รัฐธรรมนูญอินเดียระบุ 23 ภาษาราชการ แต่ในความเป็นจริงแล้วภาษาที่มีคนใช้กันมากที่สุดคือฮินดี (Hindi) และอังกฤษ ถ้านับทุกภาษาท้องถิ่นใช้กันแล้ว อินเดียมีรวมกันทั้งหมดถึง 1,652 ภาษา โดยอินเดียเป็นประเทศที่มีภาษาใช้มากที่สุดในโลก

ชาติพันธุ์อารยัน ( Aryan ) ชาวอารยันเป็นชนผิวขาว(คอเคซอยด์)ที่อพยพเข้าสู่อินเดียและวางรากฐานอารยะธรรมอินเดียรวมทั้งศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

ชาติพันธุ์อารยัน ( Indo-Aryan ) ชาวอารยันเป็นชนผิวขาว(คอเคซอยด์)ที่อพยพเข้าสู่อินเดียและวางรากฐานอาระยธรรมอินเดียและศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

อารยัน ( อินโด-อารยัน ) ดารวิเดียน ( ทราวิท/ทมิฬ )

กลุ่ม Indo-Aryan 72 % กลุ่ม Dravidian 25 % จำนวนประชากรปัจจุบันในอินเดีย กลุ่ม Indo-Aryan 72 % กลุ่ม มองโกลอยด์ 3 % กลุ่ม Dravidian 25 %

อารยัน (อริกะ) Aryan

ช่องเขาไคเบอร์ Kyber pass ช่องเขาไคเบอร์เป็นช่องเขาสำคัญที่ชาวอารยัน(อินโด-อารยัน) ใช้เป็นช่องทางอพยพเข้าสู่อนุทวีปอินเดียเมื่อหลาย พันปีก่อนและเป็นกลุ่มชนที่วางรากฐานอารยะธรรม อินเดียและศาสนาพราหมณ์-ฮินดูในเวลาต่อมา ปัจจุบันก็ยังเป็นช่องเขาที่สำคัญอยู่ ช่องเขาไคเบอร์ Kyber pass ช่องเขา Khyber

ช่องเขาไคเบอร์ Khyber pass

ช่องเขาไคเบอร์ Kyber pass

ติกะ / บินดิ

“ ติกะ “ / “ บินดิ " Tilaka / Tilak / Tilakam / Tika / Bindi

ติกะ / บินดิ = จุดกลมบนหน้าผากระหว่างตาสองข้าง @ "ความสว่างไสวทางปัญญา" "ดวงตาแห่งปัญญา“ (Eye of Wisdom) @ ตำแหน่งซึ่งถือว่า เป็นจุดรวมพลังของร่างกาย และจิตวิญญาณ @ แสดงความเป็นฮินดูโดยถือว่าเป็นตาแห่งจิตวิญญาณ (spiritual eye) ตามความเชื่อในศาสนา @ ตัวแทนแห่งความโชคดีมั่งมีศรีสุขและเป็นการป้องกันภูตผีปีศาจ

วัฒนธรรมของพวกพราหมณ์ฮินดู เป็นตัวบ่งชี้อย่างหนึ่งของฐานะทางสังคม ( เป็นเครื่องหมายแห่งการมีคู่ ) - เป็นสัญลักษณ์ของการมีพันธะด้านการครองเรือน ในฐานะผู้เป็นภรรยา ผู้เป็นแม่ - สตรีอินเดียถือสามีเสมือนเทพ จะให้ความรักความเคารพอย่างสูง - เป็นสัญลักษณ์เตือนใจให้นึกถึงคำปฏิญาณ เมื่อตอนแต่งงานว่า จะต้องซื่อสัตย์ต่อสามี (ในสังคมอินเดียฝ่ายหญิงต้องสู่ขอฝ่ายชาย)

ตามความเชื่อในศาสนา การประกอบพิธีกรรมศาสนาฮินดู ฤาษี โยคี นักบวช บัณฑิต และมหาตมะ นิยมเจิมติลักบนหน้าผาก ถ้าไม่ได้เจิมติลักประกอบพิธีกรรมทางศาสนาความพยายามนั้นถือว่าไม่มีผล สูญเปล่า จุดติกะไม่ใช่สัญลักษณ์ของสตรีที่แต่งงานเพียงอย่างเดียว แต่ถือว่าเป็นสิ่งมงคล ชาวอินเดียบางกลุ่มจะใช้ในโอกาสอื่น ๆ เช่นเวลาไหว้พระ พราหมณ์จะให้ผงวิภูติ ผู้รับจะนำมาเจิมเพื่อเป็นสิริมงคล แต่ก็เป็นการเจิมเพียงชั่วคราวเท่านั้น

ติกะ / บินดิ

ติกะ / บินดิ

ในอินเดียหญิงต้องจ่ายสินสอดเพื่อให้ได้สามี การไม่มีเงินเป็นสินสอดจนหาสามีไม่ได้จึงเป็นความน่าละอายของพ่อแม่ฝ่ายหญิง สตรีชาวอินเดียจะต้องมีจุดนี้อยู่ตราบที่สามียังมีชีวิตอยู่ และจะต้องลบออกเมื่อสามีเสียชีวิต ในกรณีที่เลิกร้างกัน สตรีผู้นั้นจะลบจุดออกได้ต่อเมื่อเป็นการเลิกร้างโดยคำสั่งของศาล หากสตรีผู้นั้นลบจุดติกะออกโดยที่สามียังมีชีวิตอยู่ หรือไม่ได้เลิกกันโดยชอบด้วยกฎหมาย จะถือว่าเป็นการกระทำสิ่งที่สังคมไม่ยอมรับ

ผงวิภูติ จุดสีแดงนี้จะทำจากมูลวัวที่นำมาเผาและบดจนละเอียด แล้วผสมกับสีแดงชาดที่ได้จากรากไม้ มูลวัวไม่ถือว่าเป็นของสกปรก เพราะวัวเป็นพาหนะของพระเจ้า และกินพืชเป็นอาหาร ผงสีนี้เรียกว่า “ ผงวิภูติ "

ผงวิภูติ

วัว

วัว ถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดูเพราะถือว่าวัวเป็นพาหนะของพระศิวะ(พระอิศวร) ดังนั้นในสังคมฮินดูจะไม่ทานเนื้อวัวแต่จะนำไปใช้แรงงานและกินนมเท่านั้น นอกจากนี้ในสังคมทั่วไปในอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ

วัว ถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดูเพราะถือว่าวัวเป็นพาหนะของพระศิวะ(พระอิศวร) ดังนั้นในสังคมฮินดูจะไม่ทานเนื้อวัวแต่จะนำไปใช้แรงงานและกินนมเท่านั้น นอกจากนี้ในสังคมทั่วไปในอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ

วัว ถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดูเพราะถือว่าวัวเป็นพาหนะของพระศิวะ(พระอิศวร) ดังนั้นในสังคมฮินดูจะไม่ทานเนื้อวัวแต่จะนำไปใช้แรงงานและกินนมเท่านั้น นอกจากนี้ในสังคมทั่วไปในอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ

ในสังคมฮินดูจะไม่ทานเนื้อวัวแต่จะนำไปใช้แรงงานและกินนมเท่านั้น

วัวถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู ในสังคมอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ

ในสังคมอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ

ในสังคมอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ

วัวถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู ในสังคมอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ

ในสังคมอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ

วัวถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู ในสังคมอินเดียจะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ

วัวถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู ในสังคมอินเดียจะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ

วัวถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู ในสังคมอินเดียจะเห็นวัวได้ง่าย และพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ

วัวถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู ในสังคมอินเดียจะเห็นวัวได้ง่าย และพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ