Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์
Advertisements

เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
วิทยาลัยเทคโนโลยีกิตติบริหารธุรกิจ Kitti Business Administration Technological College ชื่อเรื่อง “พฤติกรรมการใช้โปรแกรม Microsoft Office ของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ.
แบบสอบถาม (Questionnaire)
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
การปรับพฤติกรรมการเรียนในชั้นเรียนและการส่งงาน ของนักเรียนห้องการท่องเที่ยว 3/1 รายวิชาการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ นางสาวสุคนทิพย์ ทองจันทร์แก้ว สถานศึกษาที่สังกัด.
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
การวัด Measurement.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
สภาพและความต้องการของเด็กสถานพินิจเด็กและเยาวชนชาย:ศึกษากรณีบ้านมุทิตา
การวัดความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลการนำนโยบาย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ไปปฏิบัติของ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน ผู้วิจัย กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
เพศอายุร้อยละ ชาย หญิง อายุ อายุ ปี 5311 อยุ ปี อายุ ปี อายุ ปี อายุ ปี 5512 อายุ 60 ปีขึ้นไป.
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีสาร สาสน์ Sarasas Technological College นางสาวธัชชา สิงควะ นิช 2558.
เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตและปัจจัยที่มีผลต่อ คุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ รับยาต้านไวรัสเอชไอวีในโรงพยาบาลวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
การคำนวณอัตรากำลัง (Work Load). เป็นโครงการพัฒนาคุณภาพ จัดทำโดย : คณะกรรมการ TQA หมวด 5 และ คณะกรรมการ HRD.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
วันที่ 15 – 16 มิถุนายน 2558 ณ สำนักคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
(Customer Relationship Management : CRM) โครงการตามแผนพัฒนาองค์การ
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
ผลของการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
การนำเสนอผลงานการวิจัย
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การติดตาม (Monitoring)
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Miniresearch งานผู้ป่วยนอก

การพัฒนาระบบบริการงานผู้ป่วยนอก จากเสียงสะท้อนของผู้รับบริการ ผู้รับผิดชอบ 1. นางสาวศรีทวน วิบูลย์มา 2. นางประทุมทอง เกษสระ 3. นางบุญกาย มูลรัตน์ 4. นางวัลย์ลิกา กิ่งวิชิต

วัตถุประสงค์ เพื่อรับฟังความคิดเห็นของผู้รับบริการต่อระบบริการงานผู้ป่วยนอก เพื่อนำข้อคิดเห็นของผู้รับบริการมาวิเคราะห์ และวางแผนปรับปรุงพัฒนาระบบบริการ

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับข้อมูลในด้านระบบบริการจากผู้รับบริการในมุมมองต่างๆที่สามารถนำมาวิเคราะห์และ วางแผนพัฒนาปรับปรุงระบบบริการงานผู้ป่วยนอก ได้ตรงประเด็นกับความต้องการของผู้รับบริการซึ่งสามารถสอดรับกับความพึงพอใจของผู้รับบริการได้ 2. มีข้อมูลในด้านระบบบริการ นำเสนอต่อผู้บริหารโรงพยาบาลลำพูน ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้รับบริการ ของห้องตรวจอายุรกรรม กุมารเวชกรรม และห้องตรวจศัลยกรรม หน่วยงานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลลำพูนที่มารับบริการในเดือน กรกฏาคม2553 จำนวน 20 ราย ช่วงเวลา 13.00-16.30 น. เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา ( Descriptive Study)

สถานที่ ห้องตรวจอายุรกรรม ห้องตรวจกุมารเวช และห้องตรวจศัลยกรรม ตึกผู้ป่วยนอก กลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วยที่มารับบริการตึกผู้ป่วยนอก ห้องตรวจอายุรกรรม ห้องตรวจกุมารเวช และห้องตรวจศัลยกรรม ในเดือน กรกฏาคม 2553 จำนวน 20 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถาม คำถามปลายเปิด ให้แสดงความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ วิธีการเก็บข้อมูล โดยให้ผู้บริการตอบแบบสอบถาม ให้แสดงความคิดเห็น และข้อเสนอแนะมีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบการเก็บข้อมูล ตรวจสอบความสมบรูณ์ของการตอบคำถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ แล้วนำมาวิเคราะห์

ผลการศึกษา การรวบรวมข้อมูลโดยผู้วิจัยและผู้ช่วยเก็บข้อมูลเข้าไปแนะนำตัวชี้วัดชี้แจงวัตถุประสงค์ของการสำรวจและการตอบแบบสอบถามกับผู้ใช้บริการในขณะที่ผู้ใช้บริการรอรับยากลับบ้านสรุปได้ดังนี้ ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลลำพูน จากการรวมรวมพบว่าประเภท ผู้ใช้บริการ ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ป่วย ร้อยละ 50 เป็นญาติร้อยละ 50 อายุส่วนมากอยู่ในกลุ่มอายุ ระหว่าง20- 40 ปี ร้อยละ 40 และร้อยละ30 ในกลุ่มอายุ 40-60 ปี และมากกว่า 60 ปีตามลำดับ อาชีพหลักส่วน มากประกอบอาชีพ ทำสวนเกษตรกร ร้อยละ 50 อาชีพรับราชการ ร้อยละ 25 เป็นลูกจ้าง ค้าขาย ร้อยละ 15 แม่บ้านรับจ้างทั่วไป ร้อยละ 10 ตามลำดับ รายได้ส่วนใหญ่ไม่แน่นอน ร้อยละ 40 รายได้ต่อเดือน ร้อยละ 20 ต่ำกว่า 5,000 บาท และ10,001-20,000 บาท ร้อยละ 15 รายได้อยู่ระหว่าง 5,000-10,000 บาท และการใช้บริการส่วนมากเคยมาใช้บริการ มากกว่า 1-3 ครั้ง ร้อยละ 50 และร้อยละ 48 เคยมาใช้บริการ 3-10ครั้ง

ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บริการ จำนวน ร้อยละ ผู้ป่วย ญาติ 10 50 เพศ ชาย หญิง อายุ 20-40 ปี 40-60 ปี มากกว่า 60ปี 8 12 6 40 60 30 แสดงเป็นตาราง ผลการศึกษา

ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บริการ จำนวน ร้อยละ ระดับการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ปริญญาตรี ปริญญาโท อาชีพหลัก พนักงานของรัฐ/ข้าราชการ ลูกจ้าง/ค้าขาย ทำสวน/เกษตรกร 10 5 4 1 3 2 50 25 20 15

ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บริการ จำนวน ร้อยละ อาชีพ ข้าราชการ เกษตร/ทำสวน ค้าขาย อื่น ๆ รายได้/เดือน ไม่เกิน 5,000 บาท 5,000-10,000 บาท 10,001-20,000 บาท มากกว่า 20,000 บาท รายได้ไม่แน่นอน 5 10 3 2 4 1 8 25 50 15 20 40

ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บริการ จำนวน ร้อยละ จำนวนครั้งที่มารับบริการ 1 ครั้ง มากกว่า1 - 3ครั้ง 3-10ครั้ง 1 10 9 2 50 48

ผลการศึกษาด้านบริการ การบริการ ความรวดเร็ว พึงพอใจ ไม่พึงพอใจ ระบบ/ขั้นตอนบริการ จำนวน 11 9 15 5 ร้อยละ 55 45 75 25 Coments *เทียบกับบริการเดิมเป็นระบบ และรวดเร็วขึ้น ชอบระบบจัดคิว *รอนาน บัตรช้า ศูนย์เปลช้า ผลเลือดออกช้า รอค้นบัตรนาน *เป็นระบบแบ่งเป็นสัดส่วน เข้าใจง่าย *มีการแซงคิว ดึงบัตรคิวทิ้ง ไม้ได้ให้ข้อมูล เหตุผลการเปลี่ยนห้องตรวจ อำนวยความสะดวกให้คนรู้จัก

ผลการศึกษาด้านบริการ การบริการ สิ่งอำนวยความสะดวก พึงพอใจ ไม่พึงพอใจ พฤติกรรมริการ จำนวน 12 8 17 3 ร้อยละ 60 40 85 15 Coments (ไม่มีข้อคิดเห็น) *เก้าอี้นั่งรอตรวจน้อย ที่จอดรถไม่เพียงพอ น้ำดื่มไม่พอ ปรับปรุง เรื่องการระบายอากาศ *ให้คำแนะนำดี *พูดจาไม่ไพเราะ น้ำเสียงห้วน

จบคะ ขอบคุณคะ