โดย เลขาธิการ กศน.(นายสุรพงษ์ จำจด) สรุปองค์ความรู้หลักปรัชญาคิดเป็นและจิตวิทยาการเรียนรู้ผู้ใหญ่ โดย เลขาธิการ กศน.(นายสุรพงษ์ จำจด)
ความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษานอกโรงเรียน มนุษย์มีความแตกต่าง มนุษย์มีความสามารถในการปรับตัว มนุษย์ต้องการความสุข
รูปแบบการปรับตัวของมนุษย์ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม จึงมีรูปแบบการปรับตัว ๓ รูปแบบ ปรับตนเองเข้ากับสังคม (คนส่วนใหญ่) ปรับสังคมเข้ากับตนเอง (คนมีอำนาจ) หลีกหนีสังคม (คนส่วนน้อย)
จากความเชื่อพื้นฐาน สู่ ปรัชญาคิดเป็น มนุษย์มีความทุกข์ มีปัญหา มนุษย์ต้องการความสุข แก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หลักปรัชญาคิดเป็น
เข้าสู่กระบวนการแก้ปัญหา เมื่อมีปัญหา เข้าสู่กระบวนการแก้ปัญหา แก้ปัญหาไม่สำเร็จ แก้ปัญหาสำเร็จ ผลคือ ความสุข
กระบวนการแก้ปัญหาตามหลักปรัชญาคิดเป็น กระบวนการแก้ปัญหาต้องใช้ข้อมูลสำคัญ ๓ ด้าน ข้อมูลตนเอง ความตั้งใจ ความพร้อม สุขภาพอนามัย ฯลฯ ข้อมูลสังคม สภาพเศรษฐกิจ ความต้องการของตลาด สภาพพื้นที่ ฯลฯ ข้อมูลวิชาการ ความรู้ในเรื่องนั้น ถ้าไม่รู้จะหาจากไหน แหล่งความรู้ ภูมิปัญญา ฯลฯ
สรุปกระบวนการคิดเป็น เริ่มจากปัญหา เข้าสู่กระบวนการแก้ปัญหา รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล (ข้อมูลตนเอง สังคม วิชาการ) ประเมินผล ลงมือปฏิบัติ (อย่างมีคุณธรรม) ตัดสินใจแก้ปัญหา
การนำหลักปรัชญาคิดเป็น สู่การปฏิบัติ การนำหลักปรัชญาคิดเป็น (ศาสตร์) ไปจัดการเรียนรู้ให้ประชาชนเกิดกระบวนการคิดเป็น แก้ปัญหาอย่างถูกต้อง เหมาะสม ต้องใช้ศิลปะ คือ จิตวิทยาสำหรับผู้ใหญ่ (Andragogy) ซึ่งแตกต่างจากจิตวิทยาสำหรับเด็ก (Pedagogy)
ลักษณะของผู้ใหญ่ มีเป้าหมายในชีวิต เชื่อมั่นในตนเองสูง มีประสบการณ์สูง ชอบคำชม ไม่ชอบการตำหนิ ขี้อาย ฯลฯ
การจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมสำหรับผู้ใหญ่ การพูดคุย ปรึกษาหารือ การอภิปรายกลุ่ม การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การเรียนรู้ที่ตรงกับสิ่งที่ต้องการนำไปใช้ เป้าหมาย คือ ให้เป็นคนคิดเป็น แก้ปัญหาได้ มีความสุข