กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2559.
Advertisements

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ Input&Output เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นาย ภคินนัย ชมภูนุช ม.4/1 เลขที่ 8 นางสาว ฟ้ารุ่ง วะสาร ม.4/1 เลขที่ 27 นางสาว รัฐภัทร บุญทัน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลหนองฮี ยินดีต้อนรับ คณะท่านผู้บริหารระดับสูง ด้วยความยินดียิ่ง.
บทที่ 2 การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
L I O รายงานผลการดำเนินงาน ประจำเดือนมกราคม 2555
มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน.
ประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งกรมปศุสัตว์
Market System Promotion & Development Devision
พลังวัชร์ แพ่งธีระสุขมัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
กลุ่มพัฒนาระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
การประชุมสัมมนาอาจารย์ที่ปรึกษา นักศึกษา รหัส 61
การพัฒนาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพ
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
บทที่ 6. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
วิลเลียม ฮาร์วีย์ (William Harvey) ด.ญ.กัณฐิกา จันแย้ ม.4.3 เลขที่ 1
โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes)
โดยคุณอัมพวัน คุลภ์อนันต์
การกำจัดขยะและสารเคมี
บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
10 สถานที่ท่องเที่ยว ขอแนะนำ.
ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยจังหวัดสมุทรปราการ
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
ความสำคัญของโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
พลวัตความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่ :
นวัตกรรมกลุ่มงานวิสัญญี ปี 2562 E Mobile
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
ขั้นตอนการเบิก-จ่ายเงินให้กับผู้รับจ้าง
นโยบายการคลัง รายวิชา : Week 06.
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
การดำเนินกิจการ ของสหกรณ์ออมทรัพย์.
การสนับสนุนกิจกรรม Win back ลูกค้าคู่แข่ง บภ.1.1
Product Champion Cluster วัยเรียน : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
งานพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์
กลุ่มที่1 การจัดการข้อมูลการดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
บ้านเรียนดี สรรสร้างสื่อดี
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการสอนซ่อมเสริมร่วมกับ
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
Credit Management ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเสริมหน้าอกด้วยซิลิโคน และ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์ วาระการประชุมประจำเดือน พฤศจิกายน 2560 สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม

รายละเอียด วาระการประชุม รายละเอียดตัวชี้วัด กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์ รอบที่ 1/2561 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ อื่น ๆ รายละเอียด วาระการประชุม

ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) ชื่อตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับความสำเร็จในการยกระดับการเลี้ยงสัตว์ ให้มีระบบการป้องกัน โรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม น้ำหนักตัวชี้วัด : ร้อยละ 5 เกณฑ์การให้คะแนน : รอบการประเมินครั้งที่ 1/2561 เป้าหมาย 260 ราย (ไก่พื้นเมือง 30 ราย อำเภอละ 10 ราย สัตว์ชนิดอื่นๆ 230 ราย ) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) ระดับคะแนน ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน 1 ส่วนที่ 1 : ดำเนินการอบรมเกษตรกรเรื่องระบบการป้องกันโรค และการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมได้มากกว่าหรือเท่ากับ 300 ราย ส่วนที่ 2 : ส่งรายงานการรับรองฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรค และการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม ให้ สคบ. ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่ dcontrol1@dld.go.th ภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป ส่วนที่ 3 : จำนวนฟาร์มที่ได้รับรองฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงที่เหมาะสม ได้น้อยกว่าร้อยละ 35 ของเป้าหมาย ได้มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 35 ถึงร้อยละ 40 ของเป้าหมาย 2 ได้มากกว่าร้อยละ 40 ถึงร้อยละ 50 ของเป้าหมาย 3 ได้มากกว่าร้อยละ 50 ของเป้าหมาย

ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) จัดอบรมเกษตรกร เป้าหมาย 300 ราย (อำเภอละ 100 ราย) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20)

ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) ขอรายชื่อเกษตรกร รอบที่ 1/2561 เพื่อเตรียมการอบรมและยื่นขอรับรอง อย่างน้อย 50% (ขอพิกัดทุกราย) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) อำเภอ ไก่พื้นเมือง สัตว์ชนิดอื่นๆ รวม เมือง 10 77 87 อัมพวา บางคนที 76 86 30 230 260 แบบฟอร์มที่ใช้ พป 1-6 คำสั่งกรมฯ ที่ 720/2560 แต่งตั้งที่ปรึกษาเกษตรกร คำสั่งกรมฯ ที่ 965/2560 คณะผู้ตรวจประเมิน

ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) ชื่อตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของจำนวนเกษตรกรที่ผ่านการรับรองสถานที่เลี้ยงไก่ชนที่มีระบบป้องกันโรค น้ำหนักตัวชี้วัด : ร้อยละ 5 เป้าหมายอำเภอละ 35 ราย : สมุทรสงครามมี 3 อำเภอ = 105 ราย (ซ้ำรายเดิมของปีที่แล้วได้) เกณฑ์การให้คะแนน : รอบการประเมินครั้งที่ 1/2561 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) กำหนดส่งแบบ กช 3 (อำเภอ) ภายในวันที่ 25 มกราคม 2560 และกดพิกัดทุกราย ส่วนที่ 1 ระดับคะแนน ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดการดำเนินงาน 1 ผลการดำเนินงานได้ต่ำกว่าร้อยละ 30 ของเป้าหมาย 2 ผลการดำเนินงานได้ต่ำกว่าร้อยละ 30-35 ของเป้าหมาย 3 ผลการดำเนินงานได้ต่ำกว่าร้อยละ 35 ขึ้นไป 4 ผลการดำเนินงานได้ต่ำกว่าร้อยละ 45-50 ของเป้าหมายและระดับภูมิคุ้มกันไก่พื้นเมืองไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 5 ผลการดำเนินงานได้ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของเป้าหมายและระดับภูมิคุ้มกันไก่พื้นเมืองไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 คะแนนการส่งผลงานและความครบถ้วนของรายงาน (0.5 คะแนน) คะแนนที่ได้ = จำนวนเดือนที่ส่งผลงาน x 0.5 (หากผลการดำเนินงานได้ตามเป้าหมายแต่ผลของระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคนิวคาสเซิลไม่ได้ คะแนนที่ได้จะอยู่ที่ระดับ 3) ส่วนที่ 2 จำนวนเดือนในรอบการประเมิน

ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) ชื่อตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จในการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น น้ำหนักตัวชี้วัด : ร้อยละ 10 (จังหวัดสมุทรสงคราม สมุทรสาคร ภูเก็ตและกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 10 จังหวัดอื่นๆ ร้อยละ 5) เกณฑ์การให้คะแนน : รอบการประเมินครั้งที่ 1/2561 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดดำเนินงาน คะแนนเต็ม ร้อยละของ อปท.ที่สามารถดำเนินการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า พิจารณาข้อมูลตามหลักเกณฑ์พื้นที่ปลอดโรคระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 31 มีนาคม 2561 ไม่มีพื้นที่ A ทั้งจังหวัด ได้ 0 คะแนน เป็นพื้นที่ระดับ A น้อยกว่าร้อยละ 40 และ/หรือมีพื้นที่ C ได้ 1 คะแนน เป็นพื้นที่ระดับ A น้อยกว่าร้อยละ 40 แต่ไม่มีพื้นที่ C ได้ 2 คะแนน เป็นพื้นที่ระดับ A ตั้งแต่ร้อยละ 40 ขึ้นไป และไม่มีพื้นที่ C ได้ 4 คะแนน 4 พื้นที่ B ของสมุทรสงคราม คือ ต.บางสะแก และ ต.ลาดใหญ่

ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) ชื่อตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จในการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เกณฑ์การให้คะแนน : รอบการประเมินครั้งที่ 1/2561 (ต่อ) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) ค่าเป้าหมายผลงาน/รายละเอียดดำเนินงาน คะแนนเต็ม การดำเนินงานตามโครงการเฝ้าระวังโรคพิษสุนัขบ้าเชิงรุก พิจารณาจำนวนตัวอย่างที่ส่งตรวจในระบบ Thairabies.net (1 ตุลาคม 2560 – 31 มีนาคม 2561) (เป้าหมาย 35 ตัวอย่าง) ดำเนินการเก็บตัวอย่างได้ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมายไม่ถึงร้อยละ 40 ได้ 0 คะแนน ดำเนินการเก็บตัวอย่างได้ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 40 ได้ 2 คะแนน ดำเนินการเก็บตัวอย่างได้ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 40 ได้ และเป็นตัวอย่างสุนัข-แมว ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ได้ 3 คะแนน 3 การดำเนินงานตามมาตรการควบคุมสัตว์พาหะนำโรคพิษสุนัขบ้า พิจารณาผลการผ่าตัดทำหมันตามเป้าหมายของกรมปศุสัตว์ จากระบบ e-operation (1 ตุลาคม 2560 – 31 มีนาคม 2561) (เป้าหมายผ่าตัดทำหมันสุนัข-แมว 600 ตัว) ไม่มีผลการผ่าตัดทำหมันได้ 0 คะแนน ผ่าตัดทำหมันได้น้อยกว่าร้อยละ 40 ของเป้าหมาย ได้ 1 คะแนน ผ่าตัดทำหมันได้ตั้งแต่ร้อยละ 40 แต่ไม่ถึงร้อยละ 50 ของเป้าหมาย ได้ 2 คะแนน ผ่าตัดทำหมันได้ตั้งแต่ร้อยละ 50 ขี้นไป ของเป้าหมายได้ 3 คะแนน

ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) ชื่อตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับความสำเร็จในการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป้าหมายการเก็บตัวอย่างหัวสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสุขภาพสัตว์ (ร้อยละ 20) อำเภอ เป้าหมาย สุนัข แมว สัตว์ชนิดอื่น รวม เมือง 11 2 - อัมพวา 13 1 (หนู) 5 บางคนที 35 6 1 9 การดำเนินงานตามมาตรการควบคุมสัตว์พาหะนำโรคพิษสุนัขบ้า พิจารณาผลการผ่าตัดทำหมันตามเป้าหมายของกรมปศุสัตว์ จากระบบ e-operation กิจกรรม สุนัข แมว รวม (ตัว) 1. สร้างภูมิคุ้มกันโรคพิษสุนัขบ้า 7000 3000 10000 2. ควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า 300 600 - เพศผู้ 150 - เพศเมีย

ควบคุมประชากรโดยการผ่าตัดทำหมัน (เน้นสัตว์ไม่มีเจ้าของ) โครงการประชารัฐร่วมใจกำจัดภัยโรคพิษสุนัขบ้าและควบคุมประชากรสุนัข-แมว ปีงบประมาณ 2561 ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การดำเนินโครงการ สัตว์ปลอดโรคคน ปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการดำเนินงานตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน เจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณฯ (e-operation) ควบคุมประชากรโดยการผ่าตัดทำหมัน (เน้นสัตว์ไม่มีเจ้าของ) เป้าหมาย ( 1000 ตัว) ผู้ปฏิบัติงาน สุนัข 700 สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดและอำเภอ ร่วมออกหน่วยกับสัตวแพทย์จากหน่วยงานอื่นๆ เช่น นิสิต นักศึกษา สัตวแพทย์จิตอาสา หรือสัตวแพทย์ จากหน่วยงานของรัฐและเอกชน มีคะแนน CE จาก ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องทางสัตวแพทย์ (เริ่ม ตุลาคม 60 – กันยายน 61) - เพศผู้ 210 - เพศเมีย 490 แมว 300 90

ติดตามประสานงานการดำเนินโครงการ 148 ครั้ง โครงการประชารัฐร่วมใจกำจัดภัยโรคพิษสุนัขบ้าและควบคุมประชากรสุนัข-แมว ปีงบประมาณ 2561 ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การดำเนินโครงการ สัตว์ปลอดโรคคน ปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ติดตามประสานงานการดำเนินโครงการ 148 ครั้ง เมือง = 49 ครั้ง อัมพวา = 49 ครั้ง บางคนที = 50 ครั้ง ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการดำเนินงานตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธาน เจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณฯ (e-operation)

เรื่องแจ้งเพื่อทราบ และปฏิบัติ อำเภอ นิวคาสเซิล อหิวาต์เป็ดไก่ เมือง 1600 100 อัมพวา 200 บางคนที 1700 รวม 4900 500 โครงการรณรงค์ทำวัคซีนป้องกันโรคในไก่พื้นเมือง ปี 2561 (เดือนธันวาคม 2560) โครงการซ้อมแผนการปฏิบัติงานและมาตรการเตรียมความพร้อมการเฝ้าระวัง และการควบคุมโรคไข้หวัดนกระดับจังหวัด จังหวัดสมุทรสงคราม ปีงบประมาณ 2561 เจ้าหน้าที่ สนง.ปศจ. สมุทรสงคราม รวม 18 ท่าน กำหนดการอบรม วันพุธที่ 13 ธันวาคม 2560 โครงการฝึกอบรมเพื่อสร้างและพัฒนาศักยภาพอาสาปศุสัตว์ด้านโรคพิษสุนัขบ้า ปีงบประมาณ 2561 ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การดำเนินโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระ ปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี จำนวนอาสา = 76 ราย กำหนดการอบรม วันศุกร์ที่ 15 ธันวาคม 2560 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ และปฏิบัติ

เรื่องแจ้งเพื่อทราบ และปฏิบัติ โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน 14 ธันวาคม 2560 ณ วัดดาวโด่งดุสิตาราม หมู่ที่ 4 ต.คลองเขิน อ.เมืองสมุทรสงคราม หนังสือกรมปศุสัตว์ ที่ กษ 0610.07/ว.35745 ลวท. 20 พ.ย. 60 เรื่อง เข้มงวดมาตรการควบคุมโรคปากและเท้าเปื่อยในช่วงอากาศ เปลี่ยนแปลง แจ้งอำเภอแล้ว ตามหนังสือที่ สส0008/875 ลวท. 9 พ.ย. 60 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ และปฏิบัติ

กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์ Thank you