ประวัติของ ภาษาบาลีและสันสกฤต ในภาษาไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการจัดองค์การ เป้าหมาย.
Advertisements

ACM คืออะไร หน้าจอหลัก
ประสิทธิภาพการใช้นโยบายภายใต้การวิเคราะห์แบบจำลอง IS-LM
ศ. 432 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน
กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต
Leadership Lesson 6 ภาวะผู้นำ.
วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Master of Arts in Pali and Sanskrit Chulalongkorn University วัตถุประสงค์
Acute Myeloblastic Leukemia FAB : M1
INC341 State space representation & First-order System
Learning Theory Dr.Chawanun Charnsil.
2. ระดับในการบริหารงานแบ่งแยกได้เป็นกี่ระดับ อะไรบ้าง
Stress คือ การเน้นพยางค์ เราจะสังเกตเห็นว่าใน
มาเข้าใจกันก่อน ภาษา กับ อักษร เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ตัวอย่างที่ 2.10 วิธีทำ เหรียญ.
Introduction to Epidemiology
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ Digital Library ปี
ปรับปรุงล่าสุด 01/03/50 Classical Music Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรม บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด.
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร บริษัท บุ๊ค โปรชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด.
การดำเนินการระหว่างเหตุการณ์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทที่ 12 กระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการที่ บุคคลจัดองค์การความรู้อันทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในพฤติกรรมของเขา และจะสามารถนำใช้อีก.
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Overview of Animal Breeding Stop and think ?... ทำไมต้องมีการปรับปรุงพันธุ์ สัตว์ ? ต้องการผลิตลูกสัตว์ที่มี ลักษณะดีเด่นขึ้น.
ศ. 432 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน
Content 3 (2 hour).
CLASSIFICATION MODEL FOR PERFORMANCE DIAGNOSIS OF DRY PORT BY RAIL
จิตวิทยาการเรียนรู้.
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theories)
คิดไว สรุปไว ด้วย MIND MAP ยินดีต้อนรับผู้เข้าร่วมสัมมนาหลักสูตร
รายวิชา นาฏยศิลป์ไทยสร้างสรรค์ (Creation in Thai Dance)
การพัฒนาสังคม Social Development 9 : 22 ต.ค. 60.
อารยธรรมกรีก โดย วรพร พรหมใจรักษ์ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนสงวนหญิง.
การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชจากสารเสพติด
รายวิชา ทักษะนาฏยศิลป์ไทย 6 (Thai Dance Skills 6)
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Sex Chromosome
Container Throughput at Laem Chabang Port 2015
แนวคิด ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคติชนวิทยา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคติชนวิทยา
Content 2 (1 hour).
B92 Protocol Alice สุ่ม string a string a (data bits)
Kanokprapha Roekpanee (Foon)
ศิลปะกรีก (GREECE ART)
รายวิชา ทักษะนาฏยศิลป์ไทย 1 (Thai Dance Skills 1)
กระบวนการเรียนรู้ของผู้บริโภค
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมื้ออาหาร
Chapter 4: Probability ความน่าจะเป็น.
(Natural Language Processing)
แนวความคิดและทฤษฎีการจัดการ Concept and Management Theory
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ (Probability of an event)
THL3404 คติชนวิทยา Folklore
THL3404 คติชนวิทยา อ.กฤติกา ผลเกิด.
พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior)
การสร้างคำ ภาษาไทย ภาษาบาลีสันสกฤต การซ้อนคำ วิธีกฤต การซ้ำคำ
ลักษณะภาษาบาลีสันสกฤตเทียบกับภาษาไทย
หลักการจัดการ Principle of Management
Quantum Information Theory
การคิดและกระบวนการคิด
วิวัฒนาการทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 ปัจจัยที่จำเป็นต่อการพัฒนาหลักสูตร
กลศาสตร์และการเคลื่อนที่ (1)
Chapter 4: Probability ความน่าจะเป็น.
THL๑๓๐๒ วิชาวรรณคดีเอกของไทย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประวัติของ ภาษาบาลีและสันสกฤต ในภาษาไทย

ประวัติภาษาบาลีและสันสกฤต THL 3106 ประวัติภาษาบาลีและสันสกฤต ภาษาบาลีและสันสกฤตจัดอยู่ในตระกูลภาษาอินเดียยุโรป ภาษาในโลกแบ่งเป็น 4 ตระกูลดังนี้ 1. ภาษามีวิภัตติปัจจัย 2. ภาษาคำติดต่อ 3. ภาษาคำโดด 4. ภาษาคำควบมากพยางค์

ประวัติภาษาบาลีและสันสกฤต THH 3106 ประวัติภาษาบาลีและสันสกฤต นักปราชญ์ทางภาษาได้แบ่งภาษาตระกูลอารยันในอินเดียออกเป็น3 สมัยดังนี้ 1. ภาษาสมัยเก่า ภาษาที่ใช้ในคัมภีร์พระเวท ได้แก่ คัมภีร์ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท อาถรรพเวทรวมทั้ง คัมภีร์อุปนิษัทซึ่งเป็นคัมภีร์สุดท้ายของพระเวท (เวทานตะ = เวท+อนฺต)ภาษาสันสกฤตของปาณินิก็อยู่ในสมัยนี้ด้วย

ประวัติภาษาบาลีและสันสกฤต THH 3106 ประวัติภาษาบาลีและสันสกฤต 2. ภาษาสมัยกลาง ได้แก่ ภาษาปรากฤต(ภาษาการละคร) เป็นภาษาถิ่นชาวอารยัน ได้แก่ มาคธี มหาราษฏรี เศารเสนี 3. ภาษาสมัยใหม่ (เข้าใจว่ามีที่มาจากภาษาปรากฤตแต่มีลักษณะภาษาต่างกันตามประวัติศาสตร์)ได้แก่ภาษาต่างๆในปัจจุบัน เช่น ฮินดี เบงกาลี ปัญจาบี มราฐี พิหารี เนปาลี

THH 3106 ภาษาพระเวท ภาษาปรากฤต ภาษาสันสกฤต ภาษาอินเดียปัจจุบัน

ภาษาสันสกฤต มีต้นกำเนิดมาจากภาษาในคัมภีร์พระเวท THH 3106 ภาษาสันสกฤต มีต้นกำเนิดมาจากภาษาในคัมภีร์พระเวท เป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ของคนชั้นสูงโดยเฉพาะวรรณะพราหมณ์ ในยุคแรกมีกฎเกณฑ์ไม่รัดกุม ปาณินิเป็นผู้วางกฎเกณฑ์ใหม่รัดกุมตายตัว

ลักษณะภาษาสันสกฤตของปาณินิ THH 3106 ลักษณะภาษาสันสกฤตของปาณินิ 1 .มีกฎเกณฑ์รัดกุม 2. สรุปเป็นสูตรได้เกือบ 4,000 สูตร 3. แบ่งเป็นบทได้ 8 บท 4. หนังสือชื่อ “อัษฎาธยายี”เป็นไวยากรณ์เล่มแรกที่สุดมีชื่อเสียงมากที่สุดในโลก

ความหมายของคำว่าสันสกฤต THH 3106 ความหมายของคำว่าสันสกฤต สันสกฤต หมายถึง สิ่งที่ได้จัดระเบียบและขัดเกลา เรียบร้อยแล้ว ตันติสันสกฤต (classical )คือสันสกฤตของปาณินิเป็น สันสกฤตสมัยใหม่ สันสกฤตพระเวท (vedic sanskrit) คือสันสกฤตที่ใช้ในคัมภีร์พระเวทเป็นสันสกฤตสมัยเก่า)

THH 3106 ภาษาบาลี ภาษาบาลีมีวิวัฒนาการมาจากภาษาพระเวทแต่ไปปะปนกับภาษาของชนพื้นเมืองที่ไม่มีระบบการศึกษาควบคุมไว้จึงวิวัฒนาการไปอย่างรวดเร็วเกิดเป็นภาษาปรากฤตหลายภาษา เช่น มาคธี เศารเศนี มหาราษฏรี และยอมรับกันว่าภาษามาคธีเป็นต้นกำเนิดภาษาบาลี

THH 3106 ประวัติภาษาบาลี หลังจากพระพุทธเจ้าตรัสรู้พระองค์ตัดสินพระทัยประกาศศาสนาด้วยภาษามาคธี เนื่องจากเป็นภาษาประจำแคว้นมคธและในขณะนั้นแคว้นนี้กำลังรุ่งเรืองแต่ไม่มีการบันทึกไว้ เมื่อพระองค์ปรินิพพานจึงจารึกพระพุทธพจน์ไว้ในพระไตรปิฎกเรียกว่า “ปาลิ” หมายถึงพุทธพจน์ แต่ผู้คนกลับเข้าใจว่าปาลิ คือภาษา และเข้าใจว่าภาษามาคธีเป็นภาษาเดียวกับบาลี

เปรียบเทียบภาษาบาลีกับภาษาสันสกฤต THH 3106 เปรียบเทียบภาษาบาลีกับภาษาสันสกฤต ภาษาบาลี - มีกำเนิดมาจากภาษาพระเวท - เกิดวิวัฒนาการโดยธรรมชาติ โดยการปะปนกับภาษาพื้นเมือง - เปลี่ยนแปลงเป็นภาษา ปรากฤต - กลายเป็นภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต - มีกำเนิดมาจากภาษาพระเวท - ได้รับการชำระตกแต่งให้มีกฎเกณฑ์

สาเหตุที่ภาษาบาลีและสันสกฤตเข้ามาในภาษาไทย THH 3106 สาเหตุที่ภาษาบาลีและสันสกฤตเข้ามาในภาษาไทย คำในภาษาบาลีและสันสกฤตเข้ามาปะปนในภาษาไทยเป็นจำนวนมาก และมีหลายคำที่หาคำไทยแท้เทียบไม่ได้ นอกจากนี้ภาษาทั้งสองยังมีปะปนในภาษาถิ่น โดยดัดแปลงเสียงให้เหมาะกับถิ่นตน ภาษาบาลีสันสกฤตมีอิทธิพลต่อภาษาไทยสูงมาก จึงควรรู้จักโครงสร้างของภาษาเพราะบางครั้งเราก็นำโครงสร้างของภาษามาใช้ในการสร้างคำไทย

บรรจบ พันธุเมธา กล่าวว่า THH 3106 บรรจบ พันธุเมธา กล่าวว่า ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาบาลีและสันสกฤตกับภาษาไทยมีมานานแล้วโดยไทยยืมคำ ทางศาสนา ภาษาพูดทุกวันนี้ ชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ บางคำเป็นบาลี สันสกฤตบางคำเรานำมาดัดแปลงนอกจากนั้นยังยืมหลักเกณฑ์บางอย่างเข้ามาด้วยแท้ๆ บางคำเรานำมาดัดแปลง

วิสุทธิ์ บุษยกุล ให้ข้อสังเกตว่า THH 3106 วิสุทธิ์ บุษยกุล ให้ข้อสังเกตว่า คำที่เรารับมาจากบาลีสันสกฤตนั้นหลายคำไม่มี คำไทยแท้เทียบ เช่น โลก ชาติ สุข ทุกข์ ชีวิต อันตราย ภาษาบาลีสันสกฤต มีอิทธิพลต่อภาษาไทยสูงมาก ในทุกภูมิประเทศของภาค

ประวัติภาษาบาลี-สันสกฤตในประเทศไทย THH 3106 ประวัติภาษาบาลี-สันสกฤตในประเทศไทย ในสมัยกลางของอินเดีย เมื่อราชวงศ์โมกุลเรืองอำนาจ นับถือศาสนาอิสลามเป็นศาสนาประจำชาติ ศาสนาพราหมณ์วิวัฒนาการเป็นศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ นิกายหินยาน ขยายตัวมาทางใต้ประเทศลังกา ศาสนาพุทธ นิกายมหายาน ขยายตัวไปทางเหนือประเทศทิเบต

ประวัติภาษาบาลี-สันสกฤตในประเทศไทย THH 3106 ประวัติภาษาบาลี-สันสกฤตในประเทศไทย ตามหลักฐานโบราณคดี ศาสนาพุทธหินยานเข้ามาสู่สุวรรณภูมิ ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 12 จารึกคาถา เย ธมฺมา เป็นจารึกภาษาบาลีที่เก่าที่สุด พบที่นครปฐม / อาณาจักรทวารวดีในสมัยโบราณ

ประวัติภาษาบาลี-สันสกฤตในประเทศไทย THH 3106 ประวัติภาษาบาลี-สันสกฤตในประเทศไทย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ น่าจะประมาณ พุทธศตวรรษที่ 3 พระเจ้าอโศกมหาราชส่งสมณทูต ได้แก่ พระโสณเถระ และพระอุตรเถระมาสู่สุวรรณภูมิ

ประวัติภาษาบาลี-สันสกฤตในประเทศไทย THH 3106 ประวัติภาษาบาลี-สันสกฤตในประเทศไทย จารึกสันสกฤตที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย พบที่นครศรีธรรมราช เมื่อพุทธศตวรรษที่ 14 พ.ศ.1318 มีเนื้อความสรรเสริญพระเจ้าแผ่นดินแห่งอาณาจักร ศรีวิชัย กล่าวถึงการสร้างปราสาทอิฐสามหลัง บูชาพระโพธิสัตว์ปัทมปาณี บูชาพระพุทธเจ้า และพระโพธิสัตว์วัชรปาณี แสดงให้เห็นอิทธิพลของพุทธศาสนานิกายมหายาน

ลักษณะการเข้ามาในภาษาไทย THH 3106 ลักษณะการเข้ามาในภาษาไทย วัฒนธรรมและอารยธรรมของอินเดียฝังรากอยู่ในพม่า ชวา สุมาตรา เกาะบาหลี ทำให้เชื่อว่าได้รับเอาภาษา วรรณคดี ความเชื่อทางศาสนา ลัทธิการเมืองมานานแล้ว

ลักษณะการเข้ามาในภาษาไทย THH 3106 ลักษณะการเข้ามาในภาษาไทย มีหลักฐานที่เป็นจารึกภาษาบาลีสันสกฤตอยู่หลายแห่งในประเทศไทย ได้แก่ จารึกธรรมจักร จารึกเยธัมมา เป็นจารึกภาษาบาลี จารึกเขารัง จารึกช่องสระแจง จารึกวัดมเหยงค์ จารึกหุบเขาช่องคอย เป็นจารึก ภาษาสันสกฤต

ลักษณะการเข้ามาในภาษาไทย THH 3106 ลักษณะการเข้ามาในภาษาไทย จารึกภาษาไทยที่เก่าที่สุดที่ค้นพบคือจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชที่ทรงจารึกในปี 1826 มีทั้งคำบาลีสันสกฤตปนอยู่มากมายซึ่งสันสกฤตจะมีอิทธิพลมากกว่า

สาเหตุที่ภาษาบาลีสันสกฤตเข้ามาปะปนในภาษาไทย THH 3106 สาเหตุที่ภาษาบาลีสันสกฤตเข้ามาปะปนในภาษาไทย สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ กล่าวว่า มี 5 ประการคือ 1. ความสัมพันธ์ทางศาสนา 2. ความสัมพันธ์ด้านประเพณี 3.ความสัมพันธ์ด้านวัฒนธรรม 4. ความเจริญด้านวิชาการ 5. ความสัมพันธ์ด้านวรรณคดี กล่าวโดยสรุปคือ 1. ด้านศาสนา พราหมณ์ พุทธ 2. ด้านวรรณคดี รามายณะมหาภารตะ พระไตรปิฎก 3. ด้านรัฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง

ด้านศาสนา อินเดียเป็นผู้นำทั้งศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธ THH 3106 ด้านศาสนา อินเดียเป็นผู้นำทั้งศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธ มีคำทางศาสนา เช่น บาป บุญ นรก สวรรค์ เมตตา กรุณา คาถา นะโม พุทโธ

THH 3106 ด้านวรรณคดี ภาษาที่ใช้ในวรรณคดี เช่น ชื่อตัวละคร ราม ลักษมณ์ ครุฑ นารายณ์ หิมพานต์ ไกรลาส อโนดาต ฉันท์ กาพย์ กวื สีดา ทศกัณฐ์ ปะปนอยู่ในภาษาไทย จากการที่เรารับวรรณคดีเข้ามา

THH 3106 ด้านรัฐศาสตร์ ตำราเกี่ยวกับการปกครองเป็นของพราหมณ์ ปุโรหิต เป็นคัมภีร์ทางสันสกฤต เช่น ศัพท์ ราชา เทวะ กษัตริย์ ราชโองการ อภิเษก เสนา อำมาตย์ ตรีปวาย ฉัตรมงคล พืชมงคล

THH 3106 ความหมาย สันสกฤต = สํ + ส + กฤต (ที่ตกแต่งดีแล้ว) บาลี = ปาลิ (แนว แถว เขต ขอบเขต)