การเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กับการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
หลักสูตร วิทยากรแนว ปฏิบัติ การใช้แรงงานที่ดี (Training of Trainer : TOT) โดย กรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
ทฤษฎีทางการศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
พนิตตา ลูกบัว นักประชาสัมพันธ์ สพป.นครราชสีมาเขต ๗
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
การวางแผนกำลังการผลิต
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ระดับปฐมวัย ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รศ. บรรพต พรประเสริฐ

สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง แนวคิด แนวทางการดำรงอยู่ การปฏิบัติตน ในทุกระดับ ครอบครัว ชุมชน รัฐ - ในการพัฒนา บริหารประเทศ พอประมาณ หลักการ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี ความรู้ คุณธรรม เงื่อนไข ความรู้ในตัวคน ในหลักวิชา รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริต อดทนเพียร มีสติ ปัญญา สร้างสมดุล/มั่นคง/เป็นธรรม/ยั่งยืน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม เป้า ประสงค์ 2

แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและไม่ประมาท โดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผนการตัดสินใจและการกระทำ

มีหลักพิจารณาอยู่ด้วยกัน 5 ส่วน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา

2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติตนบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน 3. คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กันดังนี้

ความมีเหตุผล ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิต และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยเกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ N. PAITOON

การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล N. PAITOON

4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกันเพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต ไม่โลภ และไม่ตระหนี่ 22/05/62 N. PAITOON

5. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม 22/05/62 N. PAITOON

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จะทำการผลิตหรือบริโภค ตั้งอยู่บนความพอดีมีต้นทุนอะไรบ้าง + พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้านทั้งเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ ไม่เจ็บ ไม่จน ต้องตัดสินใจอย่างมีเหตุผล + 10

นำภาระงานมาบูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ความรู้ คุณธรรม นำภาระงานมาบูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม

แนวความคิดการบูรณาการ เลือกหน่วย การเรียนรู้ จากรายวิชาอย่างน้อย 1 หน่วย เศรษฐกิจ บูรณาการปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 22/05/62 N. PAITOON

ขั้นตอนการจัดทำหน่วยการเรียน แบบบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เริ่มจากการกำหนดหน่วยการเรียน วิเคราะห์เนื้อหาหรือกิจกรรมที่สามารถสอดแทรกแนวบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวมในส่วนที่เป็นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้าไปด้วย จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เกี่ยวข้อง กำหนดเครื่องมือวิธีการวัด และเกณฑ์การประเมิน 22/05/62 N. PAITOON

เศรษฐกิจพอเพียง ไม่เคร่งครัดในเรื่องรูปแบบสามารถ การจัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ไม่เคร่งครัดในเรื่องรูปแบบสามารถ ปรับใช้ได้ตามธรรมชาติของแต่ละวิชา ระดับชั้น และบริบทของสถานศึกษา แต่ให้คงหัวข้อสำคัญไว้ ได้แก่ สาระสำคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ และการวัดประเมินผล (ข้อควรจำ) 22/05/62 N. PAITOON

ต้องรู้อะไร ? ก่อนทำแผนการจัดการเรียนรู้ 1. รู้เนื้อหาวิชาที่จะสอนอย่างชัดเจน - หลักสูตร (จุดประสงค์รายวิชา, เนื้อหา, เวลา) - ความสัมพันธ์กับรายวิชาอื่น - ประสบการณ์เดิมของผู้สอนและผู้เรียน - เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา 22/05/62 N. PAITOON

2. รู้กระบวนการเรียนรู้ของคน - วิธีสอน - สื่อและอุปกรณ์การสอน 3. เครื่องมือ / อุปกรณ์ / สิ่งอำนวยความสะดวกอื่น - สื่อและเครื่องมือต่าง ๆ - เอกสารประกอบการค้นคว้า / อ้างอิง 22/05/62 N. PAITOON

ลักษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ 1. แผนการสอนอย่างหยาบ หรือ การจัดทำโครงการสอน (Course Outline) เป็นแบบ Macro Plan 2. แผนการสอนย่อย จัดเป็นแบบ Micro Plan นิยมยึดถือ เนื้อหาวิชามากกว่าคาบการสอน โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น หน่วย ๆ เรียกว่า แผนการจัดการเรียนรู้แบบหน่วย มีความละเอียด ครู - อาจารย์อื่นสอนแทนได้ มีเอกสารสอนในแผนนั้นอย่างครบถ้วน 22/05/62 N. PAITOON

แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง รายละเอียดของกิจกรรมต่าง ๆ ที่ครูผู้สอนกำหนดขึ้นอย่างเป็นระบบและเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ล่วงหน้า เพื่อนำไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุผลตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ 22/05/62 N. PAITOON

1) การวิเคราะห์จุดประสงค์ 1) การวิเคราะห์จุดประสงค์ เป็นการแปลจุดประสงค์รายวิชา ออกเป็นพฤติกรรมที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน เมื่อเรียนจบรายวิชานั้น ๆ แล้ว แต่ละวิชาอาจมีจุดประสงค์แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับธรรมชาติของแต่ละวิชา พฤติกรรม + เงื่อนไขหรือสถานการณ์หรือเนื้อหาวิชา 1 2 - เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ 22/05/62 N. PAITOON

จุดประสงค์ของการศึกษา Benjamin S. Bloom ได้จำแนกจุดประสงค์ ดังนี้ 1. Cognitive Domain พุทธิพิสัย 2. Phychomotor Domain ทักษะพิสัย 3. Affective Domain จิตพิสัย 22/05/62 N. PAITOON

ขอบเขตของจุดประสงค์ 1. พุทธิพิสัย มีลำดับขั้นการเรียนรู้ 1. พุทธิพิสัย มีลำดับขั้นการเรียนรู้ 6 การประเมินค่า 5 การสังเคราะห์ 4 การวิเคราะห์ 3 การนำไปใช้ 2 ความเข้าใจ 1 ความรู้ความจำ 22/05/62 N. PAITOON

ตัวอย่างคำกริยา พุทธิพิสัย ระดับ ความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า จุดประสงค์ทั่วไป รู้ศัพท์ รู้ข้อเท็จจริง รู้กฏเกณฑ์ รู้ลำดับขั้น รู้ความสำคัญ รู้วิธีการ เข้าใจข้อเท็จจริง ตีความหามาย คาดการณ์ที่เกิดขึ้น แก้ปัญหา คำนวณ ตรวจสอบ ประมาณการ พิจารณา เลือก ประเมิน จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม บรรยาย ชี้แจ้ง เขียน บอก เลือก ชี้บ่ง จัด จำแนก ระบุ ค้นหา วิธีปฏิบัติ เรียบเรียง แปลง แปล เปลี่ยน อธิบาย ขยายความ เขียนใหม่ สรุป เลือก เปลี่ยนวิธีการ คำนวณ ปรับปรุง ใช้ เขียนแผนงาน แก้ปัญหา ผลิต แต่ง จำแนก ชี้บ่ง เปรียบเทียบ จัดประเภท ระบุ หาความสัมพันธ์ เขียนแผนผัง วางแผน กำหนดขอบข่าย ประเมิน พิจารณา ตัดสิน เปรียบเทียบกับมาตรฐาน เปรียบเทียบกับเกณฑ์ 22/05/62 N. PAITOON

สูง ด้านความรู้ ต่ำ ด้านความสามารถ / ทักษะทางปัญญา 6 การประเมินค่า 6 การประเมินค่า 5 การสังเคราะห์ 4 การวิเคราะห์ 3 การนำไปใช้ 2 ความเข้าใจ 1 ความรู้ความจำ ด้านความสามารถ / ทักษะทางปัญญา ด้านความรู้ ต่ำ 22/05/62 N. PAITOON

2. ทักษะพิสัย มีลำดับขั้นการเรียนรู้ 5 ทักษะการทำจนเคยชิน 4 ทักษะการกระทำอย่างต่อเนื่อง 3 ทักษะที่มีความถูกต้องตามแบบ 2 ทักษะการทำตามแบบ 1 ทักษะการเลียนแบบ 22/05/62 N. PAITOON

3. จิตพิสัย มีลำดับขั้นการเรียนรู้ 5 การสร้างลักษณะพิสัย 4 การจัดระบบ 3 การสร้างคุณค่า 2 การตอบสนอง 1 การเรียนรู้ 22/05/62 N. PAITOON

ตัวอย่างการบูรณาการการจัดการเรียนรู้ 3. วิเคราะห์ความเป็นไปได้ 4. เครื่องมืออุปกรณ์ กล้วย น้ำมัน ถุงใส่ และทำเล พอประมาณ มีเหตุผล 1. สำรวจความพร้อม ของตน มีอะไรเป็น ทุนอยู่แล้ว 2. อะไรที่ต้องหาเพิ่ม มีภูมิคุ้มกัน ทอดกล้วย แขกขาย 5. ทำถูกสุขอนามัย 6. ทำเลดีขายได้ ความรู้+ทักษะ คุณธรรม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การเลือกกล้วย น้ำมัน และกรรมวิธีการทอด การเลือกทำเลที่ตั้งและใช้เครื่องมืออุปกรณ์ สุขอนามัยและภาชนะที่ใช้ใส่ การตลาดและจำหน่าย ขยัน ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย มีความรับผิดชอบ เช่น น้ำมันที่ใช้ทอด ถุงที่ใช้ใส่ สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 5, 6 1, 2 26

หัวข้อสำคัญที่ต้องประเมินทักษะปฏิบัติ ความสามารถในการปฏิบัติงาน การเตรียมการ การใช้เครื่องมือ ขั้นตอนการ ทำงาน ท่าทางความ คล่องแคล่ว 1 คุณภาพผลงาน ความถูกต้อง สมบูรณ์ ความสวยงาม ความเรียบร้อย ความประณีต 2 พฤติกรรมและการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ความรับผิดชอบ ความปลอดภัย ความสะอาด การบูรณาการ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3

ให้ความรู้เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง แนวคิด แนวทางการดำรงอยู่ การปฏิบัติตน ในทุกระดับ ครอบครัว ชุมชน รัฐ - ในการพัฒนา บริหารประเทศ พอประมาณ หลักการ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี ความรู้ คุณธรรม เงื่อนไข ความรู้ในตัวคน ในหลักวิชา รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริต อดทนเพียร มีสติ ปัญญา สร้างสมดุล/มั่นคง/เป็นธรรม/ยั่งยืน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม เป้า ประสงค์ 28

ตัวอย่างการออกแบบการจัดการเรียนรู้ 3. วางแผนการผลิตตามปัจจัยการผลิต 4. ปฏิบัติงานตามแผน พอประมาณ มีเหตุผล 1. เลือกผลิตผักตาม ความต้องการตลาด 2. เตรียมพื้นที่ พันธุ์ผัก วัสดุอุปกรณ์ เหมาะสมกับงาน ภูมิคุ้มกัน โครงการ ปลูกผัก 5. ลดความเสี่ยงในงาน 6. ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงสังคมและสิ่งแวดล้อม ความรู้+ทักษะ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเภท ชนิด และการวางแผนการปลูก การเลือก เตรียม ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ การปลูก ดูแลรักษา เก็บเกี่ยว การตลาดและจำหน่าย คุณธรรม ขยัน ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย มีความรับผิดชอบ สามารถทำงานร่วมกัน สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 1, 5, 6 1, 2, 3, 4 6 5, 6 29

การวิเคราะห์ขั้นตอนการปฏิบัติงานโดยบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิชา....................................หน่วยที่.......ชื่อหน่วย................................................... หัวข้อเรื่อง/งาน/ชิ้นงาน..................................................เวลา...........ชั่วโมง ขั้นตอนการปฏิบัติ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดี ความรู้ คุณธรรม คำนึงถึงผลกระทบต่อ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ขั้นเตรียม 1. 2. ขั้นปฏิบัติ ผลลัพธ์ 30

รูปแบบการจัดการเรียนรู้ 1 ขั้นนำ ขั้นนำ นำเข้าสู่บทเรียน ขั้นกิจกรรม ขั้นสอน ขั้นวิเคราะห์ / อภิปราย ปฏิบัติการสอน ขั้นสรุป ขั้นสรุปแนะนำไปใช้ 22/05/62 N. PAITOON

การนำเข้าสู่บทเรียนทำได้หลายวิธี ดังนี้ 1. การเล่าเรื่องเหตุการณ์ หรือนิทานต่าง ๆ ที่สามารถอุปมาอุปมัยมายังเรื่องที่จะถ่ายทอด หรือเหตุการณ์ที่เล่านี้อาจเป็นเรื่องเด่นหรืออยู่ในความสนใจของคนทั่วไป 2. การใช้สื่อและอุปกรณ์การสอน เช่น ของจริง แผนที่ รูปภาพ ฯลฯ ประกอบกับการใช้คำถามเพื่อ สรุปคำตอบของผู้เรียนให้สัมพันธ์กับบทเรียนใหม่ 22/05/62 N. PAITOON

3. การตั้งประเด็นปัญหา เพื่อเร้าความสนใจของ 3. การตั้งประเด็นปัญหา เพื่อเร้าความสนใจของ ผู้เรียนให้คิดหาคำตอบหรือเน้นการสนทนา เพื่อชักจูง คำตอบไปสู่บทสรุปที่ตรงกับเรื่องที่จะถ่ายทอด หรือ สนทนาซักถามบทเรียนเดิมในลักษณะของการทบทวน เพื่อเชื่อมโยงไปสู่บทเรียนใหม่ 4. การแสดงบทบาทสมมติหรือการเล่นเกม โดย มีบทสรุปที่เชื่อมต่อไปยังเนื้อหาที่จะถ่ายทอด 22/05/62 N. PAITOON

กระบวนการสอน CIPPA Model  ขั้นนำ  ขั้นกิจกรรม - สร้างความรู้ด้วยตนเอง Construct ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - มีปฏิสัมพันธ์ช่วยกันเรียนรู้ Interaction - มีส่วนร่วมในการสร้างความรู้ด้วยตนเอง Participation - ได้เรียนรู้กระบวนการ Process ควบคู่กับผลงาน Product - นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ Application  ขั้นวิเคราะห์  ขั้นสรุปและประเมินผล 22/05/62 N. PAITOON

กระบวนการสอน MIAP Model ขั้นสนใจปัญหา - นำเข้าสู่บทเรียนโดยใช้สถานการณ์ คำถาม (Motivation) สื่อและอุปกรณ์ประกอบ ขั้นให้เนื้อหา - บรรยาย สาธิต และมอบหมายงาน(Information) - ให้ความรู้เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ให้เรียนรู้จากสื่อและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ขั้นพยายาม - ให้ผู้เรียนทดสอบความสามารถ ด้วยการ (Application) พยายามทำ ฝึกหัด แบบฝึกหัด ขั้นสำเร็จผล - ตรวจสอบผลงานในการเรียนรู้ (Progress) 22/05/62 N. PAITOON

เครื่องมือวัดแยกตามประเภทที่ใช้ ภาคความรู้(ทฤษฎี) เครื่องมือที่ใช้ คือแบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ ภาคทักษะ(ปฏิบัติ) เครื่องมือที่ใช้ คือแบบสังเกต แบบตรวจสอบรายการ แบบประเมินการปฏิบัติ แบบจัดอันดับ

กระบวนการสอน CIPPA Model  ขั้นนำ 1.แจ้งจุดประสงค์และวิธีการเรียนรู้ประจำหน่วย 2.นำเข้าสู่หน่วยการเรียนโดย................................................  ขั้นกิจกรรม - Construct 3.ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน โดยมอบหมายให้ศึกษาตาม ใบความรู้ ที่.... เรื่อง....................................... 4.มอบหมายใบงาน ที่... ให้ทุกคนสรุปองค์ความรู้ เรื่อง................ จากใบความรู้ข้างต้นตามหัวข้อ ดังนี้ 4.1 ........................ 4.2 ........................ 4.3 ........................ 22/05/62 N. PAITOON

5.ใช้ใบมอบหมายงานที่....ให้ผู้เรียนทุกคนไปศึกษาค้นคว้าเรื่องหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมนำส่งในรูปของรายงานอย่าง สมบูรณ์ 6.ร่วมกันสรุปองค์ความรู้เรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ ได้รับ และการนำไปประยุกต์ใช้ในงาน และชีวิตประจำวัน - Interaction - Participation - Process - Product 7.ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันคิดวิเคราะห์วางแผนปฏิบัติการ/จัดทำ......... ตามที่กำหนด หรือตามความสนใจ โดยใช้ใบมอบหมายงานที่.... เรื่อง .......... โดยบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 22/05/62 N. PAITOON

8.มอบหมายใบงานที่...ให้ผู้เรียนทุกคนสรุปผลการนำความรู้เรื่อง - Application 8.มอบหมายใบงานที่...ให้ผู้เรียนทุกคนสรุปผลการนำความรู้เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ได้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน  ขั้นวิเคราะห์ 9.ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มสรุปขั้นตอนการปฏิบัติ/จัดทำ.............และ การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ 10.สังเกตและบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม และแต่ละคน ขั้นสรุปและประเมินผล 11.ให้แต่ละคน/กลุ่มแสดงผลการเรียนรู้โดยการ...... พร้อมร่วมกัน สรุป และประเมินการปฏิบัติ/จัดทำ.......โดยให้ความสำคัญกับ งานและการบูรณาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 22/05/62 N. PAITOON