แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
IQA network Why and How to ?
Advertisements

การประชุมบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนที่ 2/2556 วันพุธที่ 13 พฤศจิกายน พ. ศ ณ ห้องประชุมทางไกล SC1218 และ SC216.
กองวิทยาการ กรมการขนส่ง ทหารเรือ. ภารกิจ มีหน้าที่ อำนวยการ ประสานงาน และดำเนินการ เกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้าวิจัย และพัฒนาเผยแพร่ให้คำแนะนำ ด้านวิทยาการขนส่ง.
1. 2 สรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงานพัฒนา คุณภาพ / วิชาการและงานวิจัย เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
สรุปผลการดำเนินงาน PMQA
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2561สู่ MOPH 4.0.
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์, Power System Design, EE&CPE, NU
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
WORKSHOP TASK1 การจัดทำ Individual Scorecard
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ITA การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
การขับเคลื่อน บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล : Governance Excellence
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
การถ่ายโอนบุคลากรสาธารณสุข
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม,หน่วยงานคุณธรรม
แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และคำรบรองการปฏิฟ้ติราชการ
สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
ITA Integrity and Transparency Assessment
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
PMQA. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกุดรัง
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
ประชุมคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย มุ่งสู่การเป็นองค์การสมรรถนะสูง (HPO) ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ครั้งที่ 1 11 ตุลาคม.
ปฏิบัติงานการแสดง อ.ดร.กุสุมา เทพรักษ์.
หน่วยที่1 หลักการวางแผนเป้าหมายชีวิต
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
ระบบการปลูกพืช และการส่งเสริมอาชีพในพื้นที่ลุ่มต่ำ
(ร่าง) แผนที่ยุทธศาสตร์กรมกิจการเด็กและเยาวชน
การดำเนินงานทรัพยากรบุคคล ปี 2560
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
การบูรณาการ สมรรถนะที่ ก.พ. กำหนด สมรรถนะ M.O.P.H.
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
การบริหารและขับเคลื่อน
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินจำนวน 3 แห่ง
โครงการสานพลังเครือข่ายและพัฒนาต้นแบบ การลด ละ เลิกสุรา
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย และหน่วยงานในสังกัด
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
เส้นทางการพัฒนาคุณภาพ HA
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
พระธาตุนาดูนศูนย์รวมจิตใจ น้ำดูนใสศักดิ์สิทธิ์ วิจิตรสวนวลัยรุกขเวช
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง ผู้ส่งมอบ: (นิยาม: คน/กลุ่มบุคคล/หน่วยงานที่ส่งมอบปัจจัยนำเข้า) 1. หน่วยงานจำหน่าย ยา เวชภัณฑ์ และครุภัณฑ์ทางการแพทย์ 2. หน่วยงานรับจ้างเหมาบริการ ความต้องการ: 1. ส่งมอบยา ,เวชภัณฑ์ และครุภัณฑ์ทางการแพทย์ที่มีคุณภาพ ตรงตามระยะเวลา ต้นทุนเหมาะสม 2. ส่งมอบสินค้าและบริการมีคุณภาพ ตรงเวลา ต้นทุนเหมาะสม 3. ปฏิบัติตามข้อตกลง ถูกต้องตามกฎหมายและกฎระเบียบ เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย พร้อมใช้งาน พันธมิตร: (นิยาม: คน/กลุ่มบุคคล/หน่วยงานที่มีการทำงานร่วมกัน) หน่วยงานในสังกัดสำนักงานเขตสุขภาพที่ 4สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 4 สระบุรี ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดสระบุรี หน่วยงานที่ให้บริการประชาชนด้านสาธารณสุข ศูนย์สาธารณสุขเทศบาล /รพ.เอกชนในพื้นที่/คลินิกเอกชนในพื้นที่ หน่วยงานภาครัฐที่บูรณาการแผนร่วมกันในจังหวัด เช่น พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ปศุสัตว์จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาฯลฯ ความต้องการ: 1. ขับเคลื่อนโยบายและยุทธศาสตร์ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ 2. การบริการด้านสาธารณสุขที่ได้มาตรฐาน 3. ข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน ผู้ให้ความร่วมมือ : สถาบันทางการเงิน ความต้องการ: อำนวยความสะดวกจัดทำธุรกรรมในด้านการเงินที่ถูกต้องและรวดเร็ว พันธกิจ: 1. จัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพในเขตพื้นที่จังหวัด 2. ดำเนินการให้บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขในเขตพื้นที่จังหวัด 3. กำกับ ดูแล ประเมินผล และสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน สาธารณสุขในเขตพื้นที่จังหวัด เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามกฎหมาย มีการบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและมีการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 4. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่ เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย 5. พัฒนาระบบสารสนเทศ งานสุขศึกษา และการสื่อสารสาธารณะด้านสุขภาพในเขตพื้นที่จังหวัด 6. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย วิสัยทัศน์: คนอ่างทองสุขภาพดี ด้วยระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ภายในปี 2564 ค่านิยม: MOPH = Mastery เป็นนายตนเอง Originality เร่งสร้างสิ่งใหม่ People Centered ใส่ใจประชาชน Humility ถ่อมตนอ่อนน้อม งบประมาณ: 68,412,005.82 บาท (ปีงบประมาณ 2560) รายได้: 1,283,727.21 บาท (ปีงบประมาณ 2560) จำนวนบุคลากร ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว: 2,266 คน ( ณ วันที่ 31 ธ.ค.60 ) จำนวน อสม. 5,409 คน กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ: พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 พ.ร.บ.ยาเสพติด พ.ศ. 2522 พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ. 2522 พ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525 พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 พรบ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 พ.ร.บ.คุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ. 2540 พ.ร.บ.การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 พ.ร.บ.ฟื้นฟูผู้เสพยาเสพติด พ.ศ. 2545 พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ: PMQA, DHS,HA,รพ.สต.ติดดาว5ส.,KM,R2R, R&DมCQI, PDCA, QA, BSC, ระบบการควบคุมภายใน, ITA ภารกิจ/บริการหลัก: 1. สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการจัดบริการด้านส่งเสริม2. สุขภาพและป้องกันควบคุมโรค 3. พัฒนาระบบบริการให้ได้มาตรฐาน 4. พัฒนาศักยภาพของบุคลากร 5. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. พัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค คุณลักษณะโดดเด่นของภารกิจ/บริการ: 1. นโยบายและแผนพัฒนาระบบสุขภาพจังหวัดอ่างทองที่สอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว 2. การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคมทุกระดับ 3. การบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐาน 4. ผู้รับบริการเข้าถึงบริการได้ง่าย และทั่วถึง 5. จัดบริการเพื่อลดความแออัด และลดระยะเวลารอคอย เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของประชาชน 6. การบริหารจัดการทรัพยากรร่วมกันภายในจังหวัด ผู้รับบริการ: จำแนกกลุ่มผู้รับบริการออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. หน่วยบริหารและหน่วยบริการในสังกัด สสจ.อ่างทอง 2. ผู้รับบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข และกลุ่มผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย จำนวน 1 กลุ่ม ความต้องการ: 1.ระบบการบริหารยุทธศาสตร์และการจัดระบบบริการที่ได้มาตรฐาน 2.ช่องทางบริการที่เข้าถึงได้ สะดวก รวดเร็ว เป็นธรรม สถานที่ไม่แออัด บุคลากรให้บริการที่สุภาพ ได้รับการคุ้มครองสิทธิ และคุณภาพการบริการได้ตามมาตรฐาน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: (นิยาม: ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการทำงานทั้งทางตรงและทางอ้อม) ผู้ได้รับผลกระทบจากการรักษาพยาบาล ความต้องการ: ได้รับการช่วยเหลือ เยียวยา ที่รวดเร็ว เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ สภาพแวดล้อมการแข่งขัน: 1. ความครอบคลุมสิทธิ มีหลักประกันสุขภาพ ร้อยละ 99.97 เป็นอันดับที่ 1 ของเขต อันดับ 22 ของประเทศ ในปีงบประมาณ 2560 2. การเข้าถึงการบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข มีหน่วยบริการครอบคลุมทุกพื้นที่ ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้สะดวก 3. สสจ.อ่างทองและหน่วยบริการในสังกัดมีมาตรฐานคุณภาพการให้บริการ HA เทียบเท่ากับสถานบริการเอกชน 3 ส่วนผลการปฏิบัติราชการกับหน่วยงานที่มีภารกิจ ขนาด และโครงสร้างคล้ายคลึงกัน พบว่าสสจ.อ่างทอง มีผลการเทียบเคียงที่ดีกว่า สสจ.สิงห์บุรี และ สสจ.นครนายก สมรรถนะหลักขององค์กร: 1. ยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนทุกกลุ่มวัย ให้ได้รับบริการที่มีคุณภาพ มาตรฐาน และมีความเชื่อมโยง 2. สร้างเสริมสมรรถนะบุคลากรให้มีความเป็นมืออาชีพ มีอุดมการณ์ และมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ 3. ส่งเสริมหน่วยงานในสังกัดให้มีการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่า และมีธรรมาภิบาล 4. เสริมสร้างความร่วมมือของเครือข่าย และภาคส่วนต่างๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน 5. ส่งเสริมการพัฒนาข้อมูลสารสนเทศ นวัตกรรม วิจัย เพื่อเป็นประโยชน์ในการพัฒนางานสาธารณสุข SA ความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์: (ด้านพันธกิจ ปฏิบัติการ บุคลากร สังคม) ด้านพันธกิจ : -นโยบายภาครัฐที่เอื้อต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพ และการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติที่ส่งผลต่อการบรรลุผลสำเร็จของยุทธศาสตร์และพันธกิจขององค์กร ด้านการปฏิบัติการ : การสร้างเครือข่ายและความร่วมมือด้านสุขภาพกับ อปท. เครือข่ายภาคประชาชน การมีระบบบริการสุขภาพและเทคโนโลยีการรักษาที่ทันสมัย การเข้าถึงบริการอย่างทั่วถึง ด้านบุคลากร : ความพึงพอใจของผู้ให้บริการ ความสุขของบุคลากรและองค์กร บุคลากรเป็นคนในพื้นที่ แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ: 1. รายงานผลการปฏิบัติราชการ สำนักงานเขตสุขภาพที่ 4 2. เว็บไซด์ของ สสจ. ในเขต 4 3. เว็บไซต์คลังข้อมูลสุขภาพ(HDC) ของกระทรวงสาธารณสุข การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขัน: 1. การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติต่างๆ 3. การเกิดโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำที่รุนแรงมากขึ้น 5.โครงสร้างประชากรเปลี่ยนแปลง การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ 6. การเปลี่ยนแปลงของสังคมชนบทสู่สังคมเมือง พฤติกรรมบริโภคที่เปลี่ยนแปลง SC ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์: (ด้านพันธกิจ ปฏิบัติการ บุคลากร สังคม) ด้านพันธกิจ : ลดอัตราการป่วย/ตายด้วยโรคที่สำคัญของจังหวัด ด้านการปฏิบัติการ : การลดความแออัดของสถานบริการ การลดระยะเวลารอคอย ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ด้านทรัพยากรบุคคล : การบริหารทรัพยากรบุคคลที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง เช่น การรักษาคนเก่งให้อยู่ในองค์กร การพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรให้สามารถทำงานทดแทนกันได้ ความพึงพอใจ ณ 3 ม.ค.61