ระบบย่อยอาหาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การถ่ายทอดพลังงาน และการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ
พวกเราต่างคิดว่าการกินผลไม้เป็นเรื่องง่ายๆ แค่ซื้อมา แล้วก็ปอก จากนั้นก็หยิบเข้าปากเท่านั้น คุณจะได้รับประโยชน์มากกว่าถ้าคุณรู้ว่าควรจะกินอย่างไร.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
แมกนีเซียม (Magnesium).
CD-ROM CD-ROM มีวิวัฒนาการมาจากแผ่น CD เพลงทั่วไป ลักษณะการบันทึกข้อมูลเป็นแบบเดียวกัน เพราะ CD-ROM จะเก็บข้อมูลในรูปดิจิตอลอยู่แล้ว ผู้ใช้สามารถอ่านได้เพียงอย่างเดียว.
ระบบขับถ่ายของเสีย.
คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของเซลล์
ผัก.
โครเมี่ยม (Cr).
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
Gas Turbine Power Plant
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
องค์ประกอบของระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
การรักษาดุลภาพของเซลล์
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
เทคนิคเกษตรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แผ่นดินไหว.
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
โรคที่เกิดจากความผิดปกติ บนออโตโซม (Autosome)
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
พลังงานในสิ่งมีชีวิต
ห้องฉุกเฉิน.
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
ศาสนาเชน Jainism.
สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
การทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติ
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบย่อยอาหาร

ระบบย่อยอาหาร (DIGESTIVE SYSTEM) โมเลกุล เซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบร่างกาย เล็ก ใหญ่

ทำไมสิ่งมีชีวิตจึงต้องกินอาหาร เพื่อให้ได้อินทรีย์สาร เพื่อให้ได้มาซึ่งพลังงาน เพื่อให้ได้สารอาหารที่ร่างกาย สังเคราะห์เองไม่ได้

บทบาทในการกินอาหารของสิ่งมีชีวิต สร้างอาหารเองได้ สร้างอาหารเองไม่ได้ Autotroph หรือ ผู้ผลิต ได้แก่พืช สาหร่าย และ แบคทีเรียบางชนิด Heterotroph ซึ่งในเชิงนิเวศแบ่งออกเป็นผู้บริโภคและผู้ย่อยสลาย

แบ่ง Heterotroph ตามลักษณะของอาหารที่กิน 1. Herbivore พวกที่กินพืชเป็นอาหาร เช่น วัว, ม้า, กระต่าย 2. Carnivore พวกที่กินเนื้อเป็นอาหาร เช่น เสือ, แมว 3. Omnivore พวกที่กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร เช่น แมลงสาบ, อีกา และคน 4. Detritivore พวกกินซากพืชซากสัตว์ เช่น แร้ง ไส้เดือน กิ้งกือ

กระบวนการกินอาหาร 1. Ingestion (การกิน) 2. Digestion (การย่อย) 2.1 Mechanical digestion 2.2 Chemical digestion 3. Absorption (การดูดซึม) 4. Elimination (การขับออก)

การย่อยอาหาร การย่อยในเซลล์ การย่อยนอกเซลล์ จะนำอาหารเข้าเซลล์เป็น food vacuole แล้ว lysosome จะมา สลายอาหาร จะปล่อยน้ำย่อยออกมาย่อยนอกเซลล์จนได้อนุภาคเล็กๆ แล้วจึงดูดซึมเข้าเซลล์เพื่อสร้างพลังงาน ส่วนที่ย่อยไม่ได้ก็เป็นกากอาหาร ไม่มีการดูดซึม เช่นการหลั่งน้ำย่อยออกมาในทางเดินอาหารของมนุษย์ การย่อยในเซลล์ การย่อยนอกเซลล์

การย่อยอาหาร การย่อยเชิงกล การย่อยเชิงเคมี การบดเคี้ยว การบีบตัวของท่อทางเดิน อาหาร การทำให้ไขมันแตกตัวโดย น้ำดี เกิดปฏิกิริยา hydrolysis ระหว่าง H2O กับอาหารโดยตรง ต้องใช้เอนไซม์ชนิดจำเพาะต่ออาหาร การย่อยเชิงกล การย่อยเชิงเคมี

ประเภทของท่อทางเดินอาหาร การย่อยอาหารในสัตว์ ประเภทของท่อทางเดินอาหาร สัตว์ที่ไม่มีท่อทางเดินอาหาร (ไม่มีปาก ลำไส้ และทวารหนัก) สัตว์ที่มีท่อทางเดินอาหาร 2.1 แบบไม่สมบูรณ์ (มีปาก มีช่องว่างกลางลำตัว ไม่มีทวารหนัก) 2.2 แบบสมบูรณ์ (มีปาก ลำไส้ และทวารหนัก)

สัตว์ที่ไม่มีท่อทางเดินอาหาร ไม่มีปาก ลำไส้ และทวารหนัก ฟองน้ำ พยาธิตัวตืด หนอนพยาธิหัวหนาม

1. มีการนำอาหารเข้าสู่เซลล์ร่างกายโดยตรง 2. ย่อยอาหารภายในเซลล์ (intracellular digestion) 3. เคลื่อนย้ายสารอาหารที่ย่อยได้จาก food vacuole สู่ไซโตพลาซึม 4. ขับกากอาหารออกทาง anal pore

สัตว์ที่มีท่อทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์ มีปาก มีช่องกลางตัวกลวง ไม่มีทวารหนัก Cnidarians

1. มี gastrovascular cavity ที่เป็นช่องสำหรับน้ำ, อาหาร และอากาศเข้าสู่ร่างกาย 2. ทางเข้าและออกของอาหารเป็นทางเดียวกัน (incomplete digestive tract) 3. หลังจากอาหารเข้าสู่ gastrovascular cavity จะมีการปล่อยเอนไซม์จากเซลล์ออกมาย่อย เรียกการย่อยนี้ว่า extracellular digestion

Flat worms (หนอนพยาธิตัวแบน )

สัตว์ที่มีท่อทางเดินอาหารสมบูรณ์ มีปาก มีลำไส้ และทวารหนัก Round worms (หนอนพยาธิตัวกลม )

Annelides (ไส้เดือนดิน)

Mollusks (หอย หมึก)

Arthropods (แมลง แมง กุ้ง ปู ตะขาบ กิ้งกือ)

Echinoderms (ดาวทะเล ปลิงทะเล)

Chordates (เพรียงหัวหอม แอมฟิออกซัส)

การย่อยอาหารของฟังไจ ฟังไจ (เห็ด รา ยีสต์) มักเป็น Saprophytism คือ เป็นการย่อยนอกเซลล์ประเภทหนึ่ง ที่หลั่งน้ำย่อยออกมานอกร่างกาย แล้วดูดซึมสารที่ย่อยได้จากซากอินทรีย์เข้าสู่เซลล์

การย่อยอาหารของอะมีบา อะมีบาจะยื่น เท้าเทียม Pseudopodium เพื่อกินอาหารเข้าไปย่อยในเซลล์ พารามีเซียม พัดโบกอาหารเข้าร่องปาก ให้อาหารเข้าสู่เซลล์กลายเป็น food vacuole แล้วจึงย่อย ยูกลีนา ปกติเป็น autotroph แต่ในภาวะที่ไม่มีแสงก็สามารถเป็น heterotroph ได้โดยดูดซึมสารอาหารต่างๆ

การย่อยอาหารของสัตว์เคี้ยวเอื้อง