THL3404 คติชนวิทยา อ.กฤติกา ผลเกิด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
Advertisements

สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การอ่าน สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี ม. เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
โครงงานเว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดอุทัยธานี
ผู้วิจัย รุจิรัชช์ญานันท์ ชัยแก้ว
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
บทที่ 3 จัดทำและนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
โรงเรียนบ้านหนองสีซอ
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ศาสนาคริสต์111
ชุมชนปลอดภัย.
ไฟฟ้า.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
Boot Camp & Regional English Training Centres
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
ระดับความเสี่ยง (QQR)
โรงเรียนกับชุมชน.
THH3404 คติชนวิทยา Folklore
บทบาทหน้าที่ในงานนาฏศิลป์
Seminar 1-3.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
รายวิชา วรรณกรรมนาฏยศิลป์พื้นเมือง Literature of Folk Dance
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
โดย ครูสมจินตนา เทียมวิไล
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
อยู่ในประวัติ สธน.นะจ๊ะ ผู้บังคับบัญชานะ
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
โดย ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ความหมายของเรียงความ
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
เงื่อนไขความเข้าใจความหมาย
มาฝึกสมองกันครับ.
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
THE4404 คติชนวิทยาสำหรับครู
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
KUSUMA TEPPHARAK (Ph.D.)
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ ๑ / ๒๕๖๑
ประเภทรายการและรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง
ศาสนาเชน Jainism.
บทที่ 3 พิธีกรรม และ ศาสนพิธี ทางศาสนาพุทธ.
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
ระบบวรรณะ Caste System ( Varna )
บุคคลสำคัญของ นาฏศิลป์ไทย.
หลุยส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur)
การพัฒนาทักษะภาษาไทย ป.๑ – ป.๖
ช่วยคุณครูเตรียมรับมือ เด็กวัยรุ่นยุคใหม่
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

THL3404 คติชนวิทยา อ.กฤติกา ผลเกิด

ประเภทของคติชนวิทยา แจน แฮโรลด์ บรุนแวนด์ ได้จำแนกข้อมูลคติชนออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ คติชนที่ใช้ถ้อยคำ (verbal folklore) คติชนที่ไม่ใช้ถ้อยคำ (non-verbal folklore) คติชนแบบผสม (Partly verbal folklore)

คติชนที่ใช้ถ้อยคำ (Verbal folklore) คำพูด/ภาษาถิ่น/การตั้งชื่อ (folk speech, dialect, naming) สุภาษิต (folk proverb) ปริศนาคำทาย (folk riddles) บทประพันธ์ที่มีสัมผัส (folk rhymes) เรื่องเล่า (narratives) เพลงพื้นบ้าน (folk song)

คติชนที่ไม่ใช้ถ้อยคำ (non-verbal folklore) สถาปัตยกรรมพื้นบ้าน (folk architecture) ศิลปะพื้นบ้าน (folk art) งานหัตถกรรม (folk craft) การแต่งกาย (folk costumes) อาหารพื้นบ้าน (folk food) การแสดงท่าทาง (folk gesture) ดนตรีพื้นบ้าน (folk music)

คติชนแบบผสม (Partly verbal folklore) ความเชื่อและคติในเรื่องโชคลาง (belief and superstition) การละเล่นพื้นบ้าน (folk game) ละครพื้นบ้าน (folk drama) การร่ายรำพื้นบ้าน (folk dance) ขนบธรรมเนียมพื้นบ้าน (folk custom) งานรื่นเริงพื้นบ้าน (folk festival)

บรุนแวนด์ กล่าว่า การจำแนกประเภทข้อมูล ของเขานั้น ยึดข้อมูลของชาวอเมริกันเป็นหลัก ซึ่ง บางประเภทอาจคาบเกี่ยวกัน แต่การแบ่งลักษณะ นี้มุ่งเน้นถึงส่วนประกอบต่าง ๆ ที่เป็นคติชน

การจำแนกประเภทข้อมูลคติชน ริชาร์ด เอ็ม. ดอร์สัน นักคติชนวิทยาที่สนับสนุนการศึกษาวิถีชีวิต (folklife) และได้จำแนกประเภทข้อมูลคติชนในเรื่อง The Fields of Folklore and Folklife Studies ดังนี้ วรรณกรรมมุขปาฐะ วัฒนธรรมวัตถุ ประเพณีสังคมพื้นบ้าน การแสดงศิลปะพื้นบ้าน

วรรณกรรมมุขปาฐะ (Oral literature) เรื่องเล่าพื้นบ้าน (folk narrative) เพลงพื้นบ้าน / กวีนิพนธ์ / บทประพันธ์ที่มีสัมผัส (folk song / folk poetry / rhyme) เกร็ด (anecdote) นิยายผจญภัยหรือเรื่องจินตนาการ (romance) มหากาพย์ (epic) สุภาษิต/ปริศนา (proverb / riddle) คำกล่าว/คำพูดพื้นบ้าน (folk speech)

วัฒนธรรมวัตถุ (Material culture) วัฒนธรรมวัตถุ คือ ข้อมูลที่เกี่ยวกับลักษณะของ คติชนที่มองเห็นได้ ซึ่งคงอยู่มาก่อนสังคม อุตสาหกรรม เช่น การสร้างบ้านเรือน การ เตรียมอาหาร การประดิษฐ์เครื่องมือและอุปกรณ์ ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

ประเพณีสังคมพื้นบ้าน (Social folk custom) ประเพณีสังคมพื้นบ้าน คือ การใช้ชีวิตตามประเพณีที่ ถ่ายทอดมา และเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรม เช่น การเกิด การแต่งงาน การตาย รวมทั้งความเชื่อ และขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ

การแสดงศิลปะพื้นบ้าน (Performing folk arts) การร่ายรำ การละคร การแสดงพื้นบ้านต่างๆ นักคติชนวิทยา ถือว่า การเล่านิทานและการว่าเพลง พื้นบ้านจัดอยู่ในประเภทนี้ด้วย

การจำแนกประเภทข้อมูลคติชนวิทยาของ กิ่งแก้ว อัตถากร การจำแนกประเภทข้อมูลคติชนวิทยาของ กิ่งแก้ว อัตถากร มุขปาฐะ อมุขปาฐะ ผสม บทเพลง ศิลปะ การร้องรำ นิทาน หัตถกรรม การละเล่น ปริศนา สถาปัตยกรรม ละคร ภาษิต / พังเพย พิธีกรรม ภาษาถิ่น ประเพณี ความเชื่อ

แนวคิดและวิธีการศึกษาคติชนวิทยา ความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับศาสตร์อื่น บทบาทหน้าที่ของคติชน การศึกษาวรรณกรรมมุขปาฐะ การศึกษาวัฒนธรรมวัตถุ การศึกษาประเพณีสังคมพื้นบ้าน การศึกษาศิลปะการแสดงพื้นบ้าน การศึกษาเพลงพื้นบ้าน

สวัสดีค่ะ