การพัฒนารูปแบบ ส่งเสริมสุขภาพวัยรุ่นไทย สูงดี สมวัยและแข็งแรง
ผู้ร่วมวิจัย ศูนย์อนามัยที่ 3 นครสวรรค์ นพ.ชาญชัย พิณเมืองงาม ดร. วณิชา กิจวรพัฒน์ พญ.ศรินนา แสงอรุณ นส. วันเพ็ญ สุทธิโกมินทร์
20-40 % diet impact to height Literature review 20-40 % diet impact to height Factors ??? Gene Genes play the biggest role in determining how tall you will grow, but your diet has a 20% to 40 % impact on how tall your be come. http://www.scientificamerican.com/article/how-much-of- human-height.
คำถามการวิจัย 1) สถานการณ์ความสูงวัยรุ่นไทยเป็นอย่างไร 2) ตัวแปรใดบ้างที่มีอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลโดยรวมต่อการส่งผลเรื่องความสูงช่วงยืดตัว ในวัยรุ่นไทย 3) ผลของรูปแบบการส่งเสริมความสูงของวัยรุ่นไทย ช่วงยืดตัวดีขึ้นหรือไม่
วัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาสถานการณ์ความสูงวัยรุ่นไทย 2) เพื่อศึกษาตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรง อิทธิพล ทางอ้อมและอิทธิพลโดยรวมที่ส่งผลต่อความสูง ช่วงยืดตัวในวัยรุ่นไทย เพื่อศึกษาผลของรูปแบบการส่งเสริมความสูงของ วัยรุ่นไทยช่วงยืดตัว
ปี กิจกรรมหลัก 2559-2560 1. ทบทวนวรรณกรรม 2560-2561 2. สำรวจสถานการณ์ความสูงวัยรุ่น (10-19ปี 11 เดือน 29 วัน) 3. หาfactor ที่เกี่ยวข้อง (พฤติกรรม, diet, exc, env) ช่วงอายุ growth spurt เด็กไทย และพัฒนา รูปแบบการส่งเสริมความสูงช่วงยืดตัว 2562-2564 4.Try out+implement program - control gr - implement gr (ก่อนอายุ GSP) หญิง 8-11 ปี ชาย 11-14 ปี 2565 5. ติดตามผลการศึกษารูปแบบฯ ความสูงและมาตรการต่างๆ ด้านการเจริญเติบโต + พฤติกรรมที่ เกี่ยวข้อง 2570 -2580 6. ติดตามความสูงทุก 5 ปี (ปี70/75/80)
รูปแบบการวิจัย Action research ประชากร กลุ่มตัวอย่าง ขนาดตัวอย่าง เด็กวัยรุ่นไทยอายุ 10 -19 ปี 11 เดือน 29 วัน กลุ่มตัวอย่าง เด็กวัยรุ่นไทย ตัวแทนเขตสุขภาพที่ 1- 12 และ กทม. ขนาดตัวอย่าง สถิติการวิเคราะห์ Repeated measurement multi regression และ Lisrel
ระยะที่ 1 1.ประชุมชี้แจงทีมวิจัย / ทบทวนวรรณกรรมเพื่อ ร่างโครงร่างวิจัย และพัฒนา/ทดลองเครื่องมือ : - รูปแบบการส่งเสริมความสูงช่วงก่อนยืดตัว - แบบเก็บข้อมูล 2.ประชุมชี้แจง พื้นที่ศึกษา ขนาดตัวอย่าง เพื่อเก็บข้อมูลสถานการณ์ความสูงของ วัยรุ่นไทยในปัจจุบัน ระยะที่ 1 (มิ.ย 59 -ธ.ค61) 3. ดำเนินการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล 4. ประชุมทีมวิจัยเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล ผลลัพธ์: - สถานการณ์ความสูง 5. ประชุมทีมวิจัยเพื่อสรุป - ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรง อิทธิพล ทางอ้อมและอิทธิพลรวม
ระยะที่ 2 ( ม.ค 62 -ธ.ค 64 ) ผลลัพธ์: 1.ประชุมทีมวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความสูงช่วงยืดตัวของวัยรุ่นไทย 2.ประชุมชี้แจงพื้นที่ศึกษาเพื่อดำเนินการทดลองรูปแบบการส่งเสริมความสูงช่วงยืดตัวของวัยรุ่นไทย (ระยะเวลา 3 ปี) ระยะที่ 2 ( ม.ค 62 -ธ.ค 64 ) 3. ดำเนินการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล 4. ประชุมทีมวิจัยเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล 5.ประชุมทีมวิจัยเพื่อสรุปตอบโจทย์คำถามที่ 3 ผลลัพธ์: พัฒนาผลของรูปแบบการส่งเสริมความสูง
1.ประชุมทีมวิจัยเพื่อประเมินผลการใช้รูปแบบการส่งเสริมความสูงช่วงยืดตัวของวัยรุ่นไทย 2.ประชุมพื้นที่ตัวอย่างเพื่อเก็บข้อมูล ระยะที่ 3 (2565) 3. เก็บและวิเคราะห์ข้อมูล 4. ประชุมทีมวิจัยเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล 5. สรุปผลการใช้รูปแบบการส่งเสริมความสูง ช่วงยืดตัวของวัยรุ่นไทย 6. จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย ในการเพิ่มความสูงของเด็กวัยรุ่นไทยช่วงยืดตัว ผลลัพธ์: ได้ผลการใช้รูปแบบการส่งเสริมความสูงช่วงยืดตัวของวัยรุ่นไทย
ระยะที่ 4 ติดตามความสูงวัยรุ่นไทยทุก 5 ปี 1.ประชุมเตรียมทีมวิจัย เพื่อติดตามความสูงของวัยรุ่นไทยทุก 5 ปี 2.ประสานพื้นที่ตัวอย่าง เพื่อชี้แจง การเก็บข้อมูลทุก 5 ปี ระยะที่ 4 ติดตามความสูงวัยรุ่นไทยทุก 5 ปี 3.ดำเนินการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล 4.ประชุมทีมวิจัยเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล 5.ประชุมทีมวิจัยเพื่อสรุปผลการศึกษาติดตามความสูง ทุก 5 ปี 6.จัดทำรายงานผลการศึกษาและเผยแพร่ทุก 5 ปี ปี 2570, 2575, 2580 7.นำเสนอเวทีนานาชาติ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1) ได้สถานการณ์ความสูงวัยรุ่นไทย 2) ได้ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพล โดยรวมต่อการส่งผลเรื่องความสูงช่วงยืดตัวในวัยรุ่นไทย 3) ได้รูปแบบการส่งเสริมความสูงของวัยรุ่นไทยช่วงยืดตัวดีขึ้น 4) ได้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการเพิ่มความสูงของเด็กวัยรุ่นไทย ช่วงยืดตัวที่สามารถนำไปขับเคลื่อนระดับประเทศ
สวัสดีค่ะ