ความสำคัญของโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การควบคุมโดยผู้ปกครอง parental control
Advertisements

CoP Community Of Practice โดย สุภาภัดต์ ต๊ะคำ. ความคิด ทำอะไร วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่ได้รับ.
ด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหาร
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2559.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลหนองฮี ยินดีต้อนรับ คณะท่านผู้บริหารระดับสูง ด้วยความยินดียิ่ง.
บทที่ 2 การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
โครงการเด็กไทยสายตาดี
ประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งกรมปศุสัตว์
Market System Promotion & Development Devision
พลังวัชร์ แพ่งธีระสุขมัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
กลุ่มพัฒนาระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
การตรวจราชการติดตามและประเมินผล : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
สื่อการเรียนรู้ครูต้อม ประโยคควรรู้ในครอบครัว1 รายวิชาภาษาอังกฤษ ขั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 นางสาวลัดดาวัลย์ เขื่อนคำ ครูผู้สอน โรงเรียนสันมหาพนวิทยา อำเภอแม่แตง.
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
ชี้แจงการตอบคำถาม/ ค่าคะแนน แบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพ
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
โลกกว้างที่แพทย์ต้องเผชิญ
ทิศทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
การกำหนด STP Segmentation Target Positioning
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
วิลเลียม ฮาร์วีย์ (William Harvey) ด.ญ.กัณฐิกา จันแย้ ม.4.3 เลขที่ 1
โดยคุณอัมพวัน คุลภ์อนันต์
นโยบาย/แนวทางพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมโรคมะเร็ง จังหวัดศรีสะเกษ นางสาววิลาวัลย์
การกำจัดขยะและสารเคมี
บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
10 สถานที่ท่องเที่ยว ขอแนะนำ.
แนวทางการประเมินผลงานวิชาการ จังหวัดนครศรีธรรมราช
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
พลวัตความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่ :
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
นวัตกรรมกลุ่มงานวิสัญญี ปี 2562 E Mobile
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์
ผลการพัฒนาถุงรองรับน้ำย่อย จากกระเพาะอาหาร
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
การดำเนินกิจการ ของสหกรณ์ออมทรัพย์.
Product Champion Cluster วัยเรียน : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
งานพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์
กลุ่มที่1 การจัดการข้อมูลการดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
แผนปฏิบัติงาน การใช้งานโปรแกรม Thai COC
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการสอนซ่อมเสริมร่วมกับ
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ประมวลภาพงานวันป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๗ รำลึกครบรอบ ๑๐ ปี สึนามิ เหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ อนุสรณ์สถานสึนามิบ้านน้ำเค็ม.
ข้อสอบ O – NET : แสดงทรรศนะ โน้มน้าว โต้แย้ง อนุมาน (ปี ๖๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเสริมหน้าอกด้วยซิลิโคน และ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสำคัญของโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย แพทย์หญิงชมพูนุท สมานชาติ กุมารแพทย์ โรงพยาบาลศรีสะเกษ

อาหารเด็กสำคัญอย่างไรครับ ?

การเจริญเติบโตของมนุษย์

น้ำหนัก

ส่วนสูง

เส้นรอบศีรษะ

Thai- DRIs 2003 กองโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุข

นมแม่ดีที่สุด

อาหารตามวัยสําหรับทารก (อาหารเสริมตามวัย อาหารทารก complementary food) หมายถึง อาหารอื่นที่ทารกได้รับเป็นมื้อนอกเหนือจากนมแม่ หรือนมผสม เพื่อให้ทารกได้รับสารอาหารครบถ้วนและพอเพียงสําหรับการเจริญเติบโต ช่วยให้ ทารกปรับตัวจากการกินอาหารเหลวเป็นอาหารกึ่งแข็ง กึ่งเหลว (semisolid food) และ อาหารแบบผู้ใหญ่เพื่อให้มีพัฒนาการในการกินที่เหมาะสมต่อไป คู่มืออาหารตามวัยสําหรับทารกและเด็กเล็ก จัดทําโดย โครงการ “การจัดทําข้อปฏิบัติการให้อาหาร เพื่อสุขภาพที่ดีของทารก และเด็กวัยก่อนเรียน” 2552

ความสําคัญและประโยชน์ของการให้อาหารตามวัยสําหรับทารก 1. ให้สารอาหารแก่ทารกเพิ่มเติมจากนมแม่หรือนมผสมในกรณีที่แม่ไม่สามารถให้ลูก กินนมแม่ได้ นมแม่อย่างเดียวจะพอเพียงต่อการเติบโตของลูกจนถึงอายุประมาณ 6 เดือน หลังจากนั้นทารกจําเป็นต้องได้รับพลังงานและสารอาหารบางชนิดเพิ่มเติม จากอาหารตามวัยสําหรับทารก เช่น โปรตีน เหล็ก แคลเซียม สังกะสี ไอโอดีน วิตามินเอ เป็นต้น เพื่อให้เจริญเติบโตตามปกติ ในกรณีที่การเจริญเติบโตของทารกมีแนวโน้มลดลง (น้ำหนักตัวเพิ่มน้อย หรือไม่เพิ่ม) หรือไม่สามารถให้นมแม่ได้อย่างเต็มที่ อาจให้อาหารตามวัยแก่ ทารกก่อนอายุ 6 เดือนได้ แต่ไม่ก่อนอายุ 4 เดือน และไม่ช้ากว่าอายุ 6 เดือน

ความสําคัญและประโยชน์ของการให้อาหารตามวัยสําหรับทารก 2. ช่วยพัฒนาหน้าที่เกี่ยวกับการเคี้ยวและกลืนอาหารซึ่งมิใช่ของเหลว 3. เสริมสร้างนิสัยและพฤติกรรมการกินที่ดีของเด็ก การให้อาหารตามวัยสําหรับทารกที่มีคุณภาพและปริมาณเหมาะสมกับวัยเป็น สิ่งจําเป็นต่อสุขภาพของทารกซึ่งจะมีผลต่อร่างกายและสติปัญญาในระยะยาวได้ ปัญหาของการให้อาหารตามวัยที่ไม่เหมาะสมนอกจากเกิดจากสาเหตุทาง เศรษฐกิจแล้วยังเกิดจากความเชื่อที่ไม่ถูกต้องความเข้าใจผิดและความไม่รู้ของ ครอบครัวและผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กซึ่งควรได้รับการแก้ไขเพื่อลดอุบัติการณ์ของโรค ขาดสารอาหารโรคอ้วนและภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ในอนาคต

การให้อาหารตามวัยสําหรับทารกอย่างเหมาะสม มีหลักการดังนี้ สมวัย เพียงพอ ปลอดภัย เหมาะสมกับความหิวและอิ่ม และพัฒนาการตามวัยของทารก

อาหารเสริมตามวัยอายุ 6-8 เดือน 1-2 มื้อต่อวัน

อาหารเสริมตามวัยอายุ 9-11 เดือน 2-3 มื้อต่อวัน

อาหารเสริมตามวัยอายุ 12 เดือนขึ้นไป 3 มื้อต่อวัน

ข้อแนะนําเพื่อให้ได้สารอาหารครบถ้วนเพียงพอ 1.ให้ทารกได้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและหลากหลาย เพื่อให้พลังงาน และสารอาหารครบถ้วนและเพียงพอกับความต้องการของทารก ได้แก่ ข้าว เนื้อสัตว์ ปลา ตับ ไข่ ผักและผลไม้เป็นประจําทุกวัน ให้ไขมันให้เพียงพอ 2.กินผักและผลไม้ทุกวันและกินให้หลากหลายชนิดโดยเฉพาะผักใบเขียวและ ผักสีส้ม เช่น ตําลึง ผักบุ้ง ผักกาดขาว ฟักทอง แครอท เป็นต้น ผลไม้ที่ไม่ หวานจัด เช่น กล้วยน้ําว้า มะละกอสุก ส้ม เป็นต้น ผักและผลไม้ เป็นแหล่ง ของแร่ธาตุ วิตามิน และใยอาหาร

ข้อแนะนําเพื่อให้ได้สารอาหารครบถ้วนเพียงพอ 3. กินเนื้อสัตว์ทุกวัน เนื้อสัตว์ต่างๆ เช่น หมู ไก่ ปลา และตับ เป็นอาหารที่มี โปรตีนและธาตุเหล็กสูง 4.ให้นมแม่ต่อเนื่องถึงอายุ 2 ปี สําหรับเด็กอายุ 1-2 ปี ควรเสริมนมดัดแปลง สูตรต่อเนื่องหรือนมวัวรสจืด วันละ 2 แก้ว 5.ใช้น้ำมันพืชในการประกอบอาหาร เพื่อเป็นแหล่งพลังงานและกรดไขมัน จําเป็น ควรใช้น้ำมันพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการดี เช่น น้ำมันรําข้าว และ น้ำมัน ถั่วเหลือง เป็นต้น

ข้อแนะนําเพื่อให้ได้สารอาหารครบถ้วนเพียงพอ 6. ให้กินอาหารรสธรรมชาติ ไม่ปรุงแต่งรสอาหารด้วยน้ำตาล น้ำผึ้ง ผงชูรส และผงปรุงรส ไม่ควรให้อาหารรสหวานจัด มันจัด เค็มจัด เนื่องจากอาหารที่ มีรสหวานและมันเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคอ้วน ฟันผุ และไขมันในเลือดสูง อาหารที่มีรสเค็มจัดหรือมีโซเดียมสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง 7.ดื่มน้ำสะอาด ไม่ให้เครื่องดื่มที่มีน้ำตาลและคาเฟอีน เช่น น้ำอัดลม น้ำหวาน ชา กาแฟ และน้ำผลไม้ที่เติมน้ำตาล เป็นต้น 8.เลือกอาหารว่างที่มีคุณภาพ ซึ่งประกอบด้วยอาหารหลายหมู่ หรือผลไม้ตาม ฤดูกาล หลีกเลี่ยงขนมที่มีรสหวานจัด มันจัด เค็มจัด และขนมที่เหนียวติดฟัน

ข้อแนะนําเพื่อให้ได้สารอาหารครบถ้วนเพียงพอ อาหารที่มีเหล็กสูง ได้แก่ เนื้อสัตว์ ตับ เลือด ไข่แดง อาหารที่มีสังกะสีสูง ได้แก่ เนื้อสัตว์ ตับ อาหารทะเล อาหารที่มีแคลเซียมสูง ได้แก่ นมและผลิตภัณฑ์จากนม เต้าหู้ ผักใบ เขียว อาหารที่มีวิตามินเอสูง ได้แก่ ตับ ไข่แดง นม ผักและผลไม้สีเหลือง ส้ม เช่น ฟักทอง แครอท มะละกอสุก เป็นต้น

ฝึกวินัยในการกินและให้เด็กหัดช่วยเหลือตนเองในการกิน อาหารอย่างเหมาะสมตามวัย กินอาหารเป็นมื้อๆ อย่างเป็นเวลา เป็นที่เป็นทาง ไม่ควรกินไปเล่นไปหรือดูโทรทัศน์ไป ไม่ตามป้อน เมื่อเด็กอายุ 1-1½ ปี ควรฝึกให้เด็กหัดกินอาหารเองโดยใช้ช้อน ฝึกให้เลิกดูดนมจากขวดเมื่ออายุ 1-1½ ปี หรืออย่างช้าไม่เกินอายุ 2 ปี

Thank you for attention